Latest Articles

สำรวจ

วัสดุแปลกปลอม กลางป่าพนมรุ้ง

ทีมสำรวจ : สันติ ภัยหลบลี้, นพมาศ ฤทธานนท์, กังวล คัชชิมา, สมบัติ มั่งมีสุขศิริ, อุเทน วงศ์สถิตย์, ปัญญา นากระโทก, จักรกริช อุดรพิมพ์, ตามศักดิ์ วงศ์มุนีวร, และ สิทธิโชค ...
สำรวจ

ภูมิสารสนเทศ (GIS) เส้นทางทัพสุดท้าย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตลอดระยะเวลา 14 ปี ในรัชสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2133 – พ.ศ. 2148) พระองค์ทรงประกอบพระราชกรณียกิจมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการรบ จากบันทึกพงศาวดารกล่าวว่า พระองค์ทรงทำศึกสงครามหลายต่อหลายครั้งภายในห้วงเวลาสั้นๆ 14 ปี ไม่ว่าจะเป็น 1) ศึกแรกกับพระมหาอุปราชา 2) ...
สำรวจ

ล่อง (รอยเลื่อน) แม่ปิง

ปัจจุบัน รอยเลื่อนแผ่นดินไหว ที่กรมทรัพยากรธรณีได้ประกาศเอาไว้ว่าเป็น รอยเลื่อนมีพลัง (active fault) ก็จะมีอยู่ประมาณ 14-15 รอยเลื่อน ครอบคลุมพื้นที่ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ของประเทศไทย เช่น รอยเลื่อนแม่ทา จังหวัดเชียงใหม่ รอยเลื่อนแม่จัน จังหวัดเชียงราย รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์และรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ในแถบภาคตะวันตก ตลอดจนรอยเลื่อนระนอง-คลองมะรุ่ย ...
เรียนรู้

สันเขา (ridge) – เนินเขา (rise) ใต้มหาสมุทร

หากใครเคยร่ำเรียนหรือแวะเวียนเข้ามาในวงการ ธรณีวิทยา (Geology) ธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic) หรือ สมุทรศาสตร์ (Oceanography) ก็จะพอรู้ว่า พื้นมหาสมุทร (ocean floor) ไม่ได้มีรูปร่างเหมือนชามก๋วยเตี๋ยว ที่ขอบทวีปหรือริมฝั่งจะตื้นมากๆ และห่างออกไปกลางมหาสมุทรจะลึกที่สุด เพราะด้วยเทคนิคการหยั่งความลึกพื้นมหาสมุทรที่ทันสมัยในปัจจุบัน ทำให้นักวิทยาศาสตร์รู้ว่า บริเวณกลางมหาสมุทร จะมีแนวเทือกเขา (สันเขา ...
สำรวจ

How to ดู : คลองคนขุดโบราณ

ในทางโบราณคดี นอกจากโบราณสถาณและโบราณวัตถุ ที่มีให้สำรวจ-ขุดค้นกันอย่างไม่หวาดไม่ไหว อีกหนึ่งตัวละครที่น่าสนใจไม่แพ้กันคือ ระบบชลประทาน (irrigation system) หรือ คลองขุดโบราณ ซึ่งมันก็ไม่ยากที่จะแยก หากสิ่งปลูกสร้างในอดีต เช่น ปราสาท สถูป เจดีย์ ฯลฯ ไม่ได้มีการใช้แล้วในปัจจุบัน สิ่งเหล่านั้นก็จะถูกนิยามเป็นโบราณสถาน เปิดทางให้นักโบราณคดีเข้าสำรวจในพื้นที่กันได้ง่ายๆ แต่ใครจะไปรู้ ...
สำรวจ

ปราสาทเขาปลายบัด บุรีรัมย์ : จากกำแพงหินเนื้อแปลก สู่เหมืองหินลึกลับที่น่าค้นหา

ปลายบัด เป็นเขาลูกโดด ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขาพนมรุ้ง อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. บุรีรัมย์ ซึ่งในทางธรณีวิทยา เขาปลายบัดเป็นภูเขาไฟเก่า แต่ปัจจุบันถือว่าดับสนิทแล้ว (ไม่มีแมกมาอยู่ใต้เขาแล้ว) ในทางโบราณคดี บนพื้นที่เขาปลายบัด มีโบราณสถาณสมัยอาณาจักรแขมร์สำคัญ 2 แห่ง ได้แก่ ปราสาทเขาปลายบัด ๑ และ ...
สำรวจ

4 รอยเลื่อน แห่งลุ่มน้ำโขง ที่ไทยควรเฝ้าระวัง

ภาพปก : https://pantip.com/topic/36696666 ปัจุบัน ผลจากการที่แผ่นเปลือกโลกอินโด-ออสเตรเลีย กำลังพุ่งชนและมุดเข้าไปใต้แผ่นยูเรเซีย นอกจากขอบการชนกันอย่าง เขตมุดตัวของเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman subduction zone) แรงส่งจากการบดขยี้กันของแผ่นทั้งสอง ยังทำให้ภายในแผ่นเปลือกโลกเกิดรอยแตกร้าวมากมาย อย่างที่เราเรียกกันติดปากว่า รอยเลื่อน (fault) ซึ่งทั้งเขตมุดตัวและรอยเลื่อน ถือเป็นแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญและเป็นพื้นที่ภัยพิบัติ และเนื่องจากการบดอัดกันของอินเดีย-ยูเรเซีย ส่วนใหญ่เน้นลงแรงกันทางตอนเหนือของทวีปเอเชีย ...
เรียนรู้

ถ้ำ และ ภูมิประเทศแบบคาสต์

การเกิดถ้ำ ถ้ำ (cave) หรือ ถ้ำหินปูน (limestone cave) เกิดจากการกัดกร่อนของ น้ำใต้ดิน (groundwater) ในขณะที่หินปูนอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่น้ำใต้ดินจะมีคุณสมบัติเป็นกรดเจือจาง เนื่องจากฝนชะล้าง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากอากาศกลายเป็นกรดคาร์บอนิก หรือ ฝนกรด (acid rain) ...
เรียนรู้

คอยดูนะ !!! อีกหน่อย แผ่นเปลือกโลกอินเดีย-ออสเตรเลีย จะแยก เป็นแผ่นใครแผ่นมัน

จากทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน นักธรณีวิทยาพบว่าโลกประกอบด้วย แผ่นเปลือกโลก (tecotnic plate) ทั้งสิ้น 14 แผ่น ดังนี้ 1) แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic plate) จำนวน 7 แผ่น ได้แก่ แผ่นแปซิฟิก (Pacific Plate) ...
เรียนรู้

สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) : คลื่นความร้อน – โพลาร์ วอร์เท็กซ์

สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) คือ ปรากฏการณ์ทาง สภาพอากาศ (weather) ในช่วงเวลาสั้นๆ (วัน-สัปดาห์) ที่ทำให้พื้นที่ใดๆ บนโลก มีสภาพอากาศรุนแรงในมิติของอุณหภูมิ ซึ่งผิดเพี้ยนไปจากสภาพเดิมๆ หรืออุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นที่ โดยแบ่งย่อยได้ 2 รูปแบบ คือ 1) สภาพอากาศร้อนสุดขั้ว ...
เรียนรู้

สนามแม่เหล็กโลก และการใช้ประโยชน์

0) กำเนิดสนามแม่เหล็กโลก จากการศึกษาโครงสร้างภายในโลก นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า แก่นโลกชั้นนอก (outer core) มีสถานะเป็นของเหลว และมีธาตุเหล็กซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เป็นองค์ประกอบสำคัญของแก่นโลก และเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้ของเหลวในแก่นโลกชั้นนอกไหลเวียน (Jacobson, 1975) และสร้าง สนามแม่เหล็ก (Earth’s magnetic field) ตามหลักการพื้นฐานที่นำเสนอโดยไมเคิล ...
สำรวจ

เกาะบาเรน : ภูเขาไฟที่หลอนคนไทยให้ผวา สึนามิ

สึนามิเกิดได้จากหลายสาเหตุ นอกจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ที่เป็นสาเหตุหลักของสึนามิ ดินถล่มหรือ ภูเขาไฟ ใต้ทะเลก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สร้างสึนามิได้ หลังปี พ.ศ. 2547 คนไทยรู้ดีว่า ห่างออกไปนอกชายฝั่งอันดามันของไทย มี เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sunatra-Andanan Subduction Zone) ทอดตัวอยู่ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดสึนามิสำคัญของบ้านเรา ...
วิจัย

ตามรอยหนุ่ม-สาว อังกอร์ เลาะบ้านมีไฟ

ในช่วงที่อาณาจักร อังกอร์ (พุทธศตวรรษที่ 14-18) เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด นอกจากปราสาทนครวัด-นครธม หรือ เมืองพระนคร ยังมีการก่อสร้างปราสาทสำคัญๆ อีกมากมายกระจายตัวอยู่โดยรอบของประเทศกัมพูชาปัจจุบัน รวมทั้งภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และเพื่อให้การเดินทางไปมาหาสู่กันระหว่างเมืองหลักและเมืองรองต่างๆ กษัตริย์หรือผู้นำอาณาจักร จึงได้มีแนวคิดที่จะสร้างเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างเมือง ซึ่งจากการสำรวจทางโบราณคดี พบว่าปัจจุบันมีเส้นทางสายหลักอย่างน้อย 5 เส้นทางได้แก่ เส้นทางที่วิ่งไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ จากเมืองพระนครสู่ ...
สำรวจ

แนวชายฝั่ง ทวารวดี : มองมุมธรณีวิทยา

ภาพจากปก : ตราประทับดินเผาลายนูนต่ำรูปเรือใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร อายุราวพุทธศตวรรษที่ 11-13 พบที่เมืองนครปฐมโบราณและพื้นที่ใกล้เคียง แสดงถึงความเจริญก้าวหน้าในการเดินเรือและการค้าขายของเมืองนครปฐมโบราณสมัย ทวารวดี [ที่มา : มิวเซียมสยาม – Museum Siam] ทวาราวดีเบื้องต้น ทวารวดี (Dvaravati) ...
เรียนรู้

รู้จัก “หิน ดำตับเป็ด” เห็นปุ๊บ-แก่ปั๊บ

หากอ่านแค่ชื่อบทความ หลายท่านคงจะตงิดอยู่ในใจว่า เรียนมาตั้งแต่เด็กยันโต คุณครูก็สอนแค่ หิน (rock) 3 ชนิด 1) หินอัคนี (igneous rock) 2) หินตะกอน (sedimentary rock) และ 3) หินแปร (metarmorphic ...
เรียนรู้

พายุ หมุนเขตร้อน

เรียบเรียง : ศิริลักษณ์ หล่อชื่นวงศ์ และ สันติ ภัยหลบลี้ พายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) คือ พายุ ที่ก่อตัวในมหาสมุทรเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน (ละติจูด 30oN – 30oS) ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอุณหภูมิผิวน้ำทะเลสูงกว่า 26.5 oC ...
เรียนรู้

เมฆ . หมอก . น้ำค้าง

เมฆ เมฆ (clouds) คือ กลุ่มละอองน้ำ (water droplet) ที่จับตัวกับแกน หรือ นิวเคลียสควบแน่น (condensation nuclei) หลากหลายชนิด เช่น ฝุ่นควัน ละอองเกษร ละอองเกลือทะเล หรือแม้กระทั่งอยุภาคมลพิษต่างๆ ซึ่งเมฆจะเกิดในสภาวะเมื่ออากาศอิ่มตัว (มีความชื้นสัมพัทธ์ ...
เรียนรู้

ชนิดของ ลม

ลม (Wind) คือ การเคลื่อนท่ีของกระแสอากาศแนวราบขนานกับพื้นผิวโลก สืบเนื่องจากความสามารถในการดูดซับรังสีจากดวงอาทิตย์ของแต่ละพื้นที่ไม่เท่ากัน ทำให้อากาศที่อยู่เหนือพื้นที่ดังกล่าวมีอุณหภูมิต่างกัน อากาศเกิดการหด-ขยายแตกต่างกัน อากาศร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ทำให้อากาศเย็นในบริเวณข้างเคียงเข้าไปแทนที่ ทำให้ความกดอากาศต่างกันในแต่ละพื้นที่ เกิดเป็น ความกดอากาศสูง (H) และ หย่อมความกดอากาศต่ำ (L) พื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ-สูง จะมีความกดอากาศสูง-ต่ำ ดังนั้น ความแตกต่างของอุณหภูมิและความกดอากาศของพื้นที่สองแห่ง ...
สำรวจ

แผ่นดินไทยมาจากไหน ? : นิทาน . ธรณีแปรสัณฐาน . ประเทศไทย

เชื่อว่าผู้อ่านคงเคยได้รับชมสารคดีเกี่ยวกับการเดินทางของเผ่าพันธุ์มนุษย์ การอพยพของสัตว์เพื่อหนีหนาว หรือแม้แต่การเดินทางของเม็ดเลือดจากการ์ตูน “นิทานชีวิต” ที่เราคลั่งไคล้กันตอนเด็กๆ คราวนี้ผู้เขียนอยากให้ลองเปลี่ยนบรรยากาศ มาดูการเดินทางของผืนแผ่นดิน (ธรณีแปรสัณฐาน) กันบ้าง ผู้เขียนผู้เขียนตั้งชื่อนิทานเรื่องนี้ว่า “นิทานขวานทอง” ซึ่งอ้างอิงหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่เคยมีการศึกษาวิจัยเอาไว้ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น Bunopas (1985) Charusiri และคณะ (2002) และ Yan ...
เรียนรู้

จัดหมวดหมู่คำศัพท์ : ธรณีภาค เปลือกโลก ฐานธรณีภาค เนื้อโลก มัชฌิมาภาค แก่นโลก ฯลฯ

เชื่อว่าหลายๆ คนที่เคยเรียนเรื่อง โครงสร้างภายในโลก (Earth’s Interior) ผ่านมา คงจะมีคำศัพท์หรือตัวละครอยู่ในหัวติดมาบ้างพอสมควร ไม่ว่าจะเป็น เปลือกโลก เนื้อโลก แมนเทิล ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมาภาค เปลือกโลกชั้นนอก เปลือกโลกชั้นใน หรือแม่กระทั่ง เปลือกโลกเฉยๆ ปัญหาสาธารณะที่ทุกคนจะมีร่วมกันของคนที่ผ่านหลักสูตรนี้มาก็คือ สรุปแล้วคำพวกนี้มันจัดหมวดหมู่กันอยู่แบบไหน ...