Monthly Archives: เมษายน 2022

เรียนรู้

ถ้ำ และ ภูมิประเทศแบบคาสต์

การเกิดถ้ำ ถ้ำ (cave) หรือ ถ้ำหินปูน (limestone cave) เกิดจากการกัดกร่อนของ น้ำใต้ดิน (groundwater) ในขณะที่หินปูนอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่น้ำใต้ดินจะมีคุณสมบัติเป็นกรดเจือจาง เนื่องจากฝนชะล้าง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากอากาศกลายเป็นกรดคาร์บอนิก หรือ ฝนกรด ...
เรียนรู้

คอยดูนะ !!! อีกหน่อย แผ่นเปลือกโลกอินเดีย-ออสเตรเลีย จะแยก เป็นแผ่นใครแผ่นมัน

จากทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน นักธรณีวิทยาพบว่าโลกประกอบด้วย แผ่นเปลือกโลก (tecotnic plate) ทั้งสิ้น 14 แผ่น ดังนี้ 1) แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic plate) จำนวน 7 แผ่น ได้แก่ แผ่นแปซิฟิก ...
เรียนรู้

สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) : คลื่นความร้อน – โพลาร์ วอร์เท็กซ์

สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) คือ ปรากฏการณ์ทาง สภาพอากาศ (weather) ในช่วงเวลาสั้นๆ (วัน-สัปดาห์) ที่ทำให้พื้นที่ใดๆ บนโลก มีสภาพอากาศรุนแรงในมิติของอุณหภูมิ ซึ่งผิดเพี้ยนไปจากสภาพเดิมๆ หรืออุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นที่ โดยแบ่งย่อยได้ 2 รูปแบบ คือ ...
เรียนรู้

สนามแม่เหล็กโลก และการใช้ประโยชน์

0) กำเนิดสนามแม่เหล็กโลก จากการศึกษาโครงสร้างภายในโลก นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า แก่นโลกชั้นนอก (outer core) มีสถานะเป็นของเหลว และมีธาตุเหล็กซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เป็นองค์ประกอบสำคัญของแก่นโลก และเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้ของเหลวในแก่นโลกชั้นนอกไหลเวียน (Jacobson, 1975) และสร้าง สนามแม่เหล็ก (Earth’s magnetic ...
สำรวจ

เกาะบาเรน : ภูเขาไฟที่หลอนคนไทยให้ผวา สึนามิ

สึนามิเกิดได้จากหลายสาเหตุ นอกจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ที่เป็นสาเหตุหลักของสึนามิ ดินถล่มหรือ ภูเขาไฟ ใต้ทะเลก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สร้างสึนามิได้ หลังปี พ.ศ. 2547 คนไทยรู้ดีว่า ห่างออกไปนอกชายฝั่งอันดามันของไทย มี เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sunatra-Andanan Subduction Zone) ...
วิจัย

ตามรอยหนุ่ม-สาว อังกอร์ เลาะบ้านมีไฟ

ในช่วงที่อาณาจักร อังกอร์ (พุทธศตวรรษที่ 14-18) เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด นอกจากปราสาทนครวัด-นครธม หรือ เมืองพระนคร ยังมีการก่อสร้างปราสาทสำคัญๆ อีกมากมายกระจายตัวอยู่โดยรอบของประเทศกัมพูชาปัจจุบัน รวมทั้งภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และเพื่อให้การเดินทางไปมาหาสู่กันระหว่างเมืองหลักและเมืองรองต่างๆ กษัตริย์หรือผู้นำอาณาจักร จึงได้มีแนวคิดที่จะสร้างเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างเมือง ซึ่งจากการสำรวจทางโบราณคดี พบว่าปัจจุบันมีเส้นทางสายหลักอย่างน้อย 5 เส้นทางได้แก่ ...
สำรวจ

แนวชายฝั่ง ทวารวดี : มองมุมธรณีวิทยา

ภาพจากปก : ตราประทับดินเผาลายนูนต่ำรูปเรือใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร อายุราวพุทธศตวรรษที่ 11-13 พบที่เมืองนครปฐมโบราณและพื้นที่ใกล้เคียง แสดงถึงความเจริญก้าวหน้าในการเดินเรือและการค้าขายของเมืองนครปฐมโบราณสมัย ทวารวดี [ที่มา : มิวเซียมสยาม – Museum Siam] ทวาราวดีเบื้องต้น ...