EP. 4 : ลีลาการเขียนรูปเล่ม
การเขียนรายงานวิจัย (research writing) หรือ วิทยานิพนธ์ (thesis) เป็นอีกหนึ่งบทบาทที่นักวิจัยจะต้องทำหลังจากทำวิจัยเสร็จสิ้น โดยเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยออกมาในรูปแบบของตัวหนังสือ ซึ่งก็ไม่รู้ว่านักวิจัยท่านอื่นทำกันยังไง แต่สำหรับพี่ ก็มีลีลาในการเขียนเล่มเฉพาะตัว ที่ทำแล้วประสบความสำเร็จ เล่มโอเค เนื้อหาไม่หลุดโลก น้องๆ ที่สนใจลองเอาไปใช้กันดู เผื่อจะถูกจริต ก่อนอื่น ...
EP. 3 : การทำวิจัย
ในส่วนของการทำวิจัย แน่นอนว่าน้องแต่ละคนมีหัวข้อวิจัยในดวงใจที่ไม่เหมือนกัน ซึ่งแต่ละงานวิจัยก็มีธรรมชาติของการทำวิจัยที่แตกต่างกัน เพื่อให้ได้มาซึ่งผลที่คาดว่าจะได้รับตามวัตถุประสงค์ ดังนั้นพี่คงไม่ขอก้าวล่วงในธรรมชาติการทำงานของแต่ละหัวข้อวิจัยเฉพาะ แต่จากประสบการณ์ที่ผ่านมา พี่ว่าเราน่าจะมีอะไรหลายอย่างที่ไม่ต่างกัน เราถูกสมมติให้เป็นนักวิจัยเหมือนกัน เรากำลังเดินทางด้วยเหตุและผลเหมือนกัน และพี่ก็เชื่อว่าบนเส้นทางสายนี้ น้องกับพี่ก็น่าจะพบกับสิ่งแวดล้อมหรือสภาวะการทำงานที่คล้ายๆ กัน ทั้งใน มิติการทำงานและสภาพจิตใจ เอาเป็นว่า อะไรที่พี่เคยผ่านมา และพี่คิดว่ามันพอจะเป็นประโยชน์กับน้องๆ พี่ขอแชร์ไว้ให้ตรงนี้ ...
EP. 2 : การเขียน โครงร่างงานวิจัย
โครงร่างการวิจัย (research proposal) หมายถึง แผนการดำเนินงานวิจัย ที่ปลุกปั้นขึ้นมาก่อนที่น้องจะทำวิจัย ซึ่งการเขียนโครงร่างการวิจัยมีประโยชน์อะไร ไม่เขียนได้ไหม น้องๆ ลองดู … แล้วจะเริ่มเขียนยังไง แบ่งหัวข้อแบบไหน แล้วต้องบอกอะไรบ้าง ถึงจะเรียกว่าดี ก็ถ้าพูดกันตรงๆ จะเขียนยังไงก็ได้ ที่เล่าเรื่องแล้ว ...
EP. 1 : วิจัย คืออะไร
เมื่อน้องๆ เลือกที่จะเดินเข้าสู่ดินแดน อุดมศึกษา ภารกิจด่านสุดท้ายก่อนที่จะได้มาซึ่ง ใบปริญญา ไม่ว่าจะเป็นคุณวุฒิ ตรี โท หรือ เอก น้องๆ จะต้องผ่านการทำ วิจัย (research) ในหัวข้อที่ตัวเองถนัดหรือสนใจ ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการประมวลองค์ความรู้ และฝึกใช้ความรู้ที่น้องได้ร่ำเรียนมาตลอดระยะเวลา 3-4 ...
มองชุมชนโบราณ ผ่านกูเกิ้ลเอิร์ธ
เมืองนอกเป็นยังไงไม่รู้ แต่ที่แน่ๆ เมืองไทยเราชอบอาศัยอยู่กันเป็นชุมชน จะเรียกคุ้มบ้าน หมู่ 8 หรือ นิคม ฯลฯ ก็สุดแล้วแต่ ซึ่งถ้ามองผ่านภาพถ่ายดาวเทียมอย่าง กูเกิ้ลเอิร์ธ (Google Earth) เราก็จะเห็นกลุ่มหลังคาบ้านกระจุกตัวกันเป็นหย่อมๆ ตามที่ราบในประเทศไทย โดยขนาดและรูปร่างของแต่ละชุมชน ก็ต่างกันไปตามสภาพพื้นที่ ...
นิทาน x ระบบเตือนภัยสึนามิ
หลังจากเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิครั้งใหญ่ ทางฝั่งอันดามันของไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 หลายประเทศรอบมหาสมุทรอินเดียรวมทั้งประเทศไทย ตัดสินใจติดตั้ง ระบบเตือนภัยสึนามิ (Tsunami Warning System, TWS) อย่างที่ฝรั่งเค้ามีกันทางฟากฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก โดยนอกเหนือจากกลไกการทำงานที่สลับซับซ้อนในทางเทคนิค หน้าตาระบบเตือนภัยที่ประชาชนทั่วไปพอจะคุ้นและเคยเห็นคือ ทุนลอยน้ำ ...
ธรณีวิทยา สะพานพระราม
สะพานพระราม (Rama’s Bridge) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า สะพานอดัม (Adam’s Bridge) เป็น ภูมิลักษณ์ (landform) ทางทะเล ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีลักษณะเป็นเหมือนแนวสันทรายที่ทอดยาว เชื่อมระหว่าง 1) ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แผ่นดินใหญ่ และเกาะยักษ์ที่ห่างออกไปอย่าง ...