Latest Articles
แบบฝึกหัด 11 คลื่นและกระบวนการชายฝั่ง
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
แบบฝึกหัด 12 ธารน้ำแข็ง
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 14 ตะกอนและหินตะกอน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 15 การลำดับชั้นหิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 16 ธรณีประวัติ
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
แบบฝึกหัด 17 การเปลี่ยนรูปร่างหิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่สัมพันธ์กันกับส่วนต่างๆ ...
แบบฝึกหัด 18 กระบวนการแปรสภาพและหินแปร
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อ ...
แบบฝึกหัด 19 ทรัพยากรธรณี
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
ภัยพิบัติน้ำท่วม และการบรรเทา
น้ำท่วม (flood) หมายถึง ภัยพิบัติที่เกิดจากน้ำพื้นผิวมีปริมาณเกินกว่าทีร่องน้ำจะรองรับได้ ทำให้น้ำเอ่อล้นออกจากร่องน้ำ สร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ โดยภัยพิบัติน้ำท่วมนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และส่งผลต่อแตกต่างกัน ได้แก่ 1) น้ำท่วมจาก พายุฝนฟ้าคะนอง (thunder storm) ทำให้เกิดน้ำหลากจากต้นน้ำลงมาอย่างรวดเร็ว หรือเรียกว่า น้ำท่วมฉับพลัน (flash flood) แต่จะท่วมเพียง ...
น้ำหนุนกรุงเทพฯ เกิดยังไง ?
นอกจากมวลน้ำทางตอนเหนือที่มีโอกาสไหลบ่าและท่วมพื้นที่ราบลุ่มตอนล่างของภาคกลาง ประเทศไทย กรุงเทพฯ และจังหวัดต่างๆ ทางตอนล่างที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านก็มีโอกาสได้รับภัยพิบัติทางน้ำ เพิ่มอีกหนึ่งรูปแบบ ซึ่งก็คือ น้ำล้นตลิ่ง หรือที่ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า น้ำหนุน ซึ่งมักจะเกิดในช่วง 2 เดือนสุดท้าย ปลายปี คือ พฤศจิกายน และธันวาคม และด้วยความที่สังคมออนไลน์ทุกวันนี้ค่อนข้างจะรวดเร็ว ทำให้เหตุการณ์น้ำหนุนล่าสุดในปี พ.ศ. ...
ฝูงแผ่นดินไหวจิ๋ว ภาคเหนือของไทย : ปุจฉา-วิสัชนา
วิเคราะห์โดย : เชาว์วรรธน์ สิงห์ทอง และ สันติ ภัยหลบลี้ ในช่วง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2560 เกิด กลุ่มแผ่นดินไหวขนาด 1.0-3.0 จำนวนมากกว่า 150 ...
เส้นทางโบราณ ขึ้นเขาพนมรุ้ง
วิเคราะห์และเรียบเรียง : สุวภา ศรีสัตยเสถียร, เกชา เจริญศิริมณี และ สันติ ภัยหลบลี้ นอกเหนือจากปราสาทตาควาย ปราสาทพิมาย ปราสาทเมืองต่ำ และปราสาทเล็กๆ น้อยๆ อีกว่าหลักร้อย ในแถบภาคอีสานตอนล่าง ปราสาทพนมรุ้ง ถือเป็นอีกหนึ่งในแลนด์มาร์คทางศาสนาที่สำคัญของ อาณาจักรอังกอร์ (Angkor) ...
คลื่นพายุซัดฝั่ง
เรียบเรียง : สิริรักษณ์ บุญเย็น และ สันติ ภัยหลบลี้ คลื่นพายุซัดฝั่ง (storm surge) หรือที่เรียกกันว่า สตอร์ม เซิร์จ หลายคนเมื่อได้ยินคำนี้แล้วอาจจะไม่คุ้นหูมากนัก และอาจจะยังไม่รู้ถึงความเสียหายที่เกิดขึ้นจากพายุซัดฝั่งนี้ แต่ถ้าหากบอกว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นมีความรุนแรงไม่ต่างจากความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก สึนามิ (tsunami) แล้ว คงทำให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้นของใครหลายๆคน ...
เกลือ 7 แบบ : หลากสี หลายรส
เรียบเรียง : ธัญพร จันทาดี และ สันติ ภัยหลบลี้ เกลือที่มีดีมากกว่าความเค็ม เชื่อว่าหลายคนคงจะรู้จักเกลือกันเป็นอย่างดี มีหลักฐานว่ามนุษย์ใช้เกลือและผลิตเกลือมาตั้งแต่ 6,000 ปี ก่อนคริสต์กาล ในอดีตกาลเกลือเป็นสิ่งมีค่ามากยิ่งกว่าทอง แต่นอกจากเกลือสีขาวในครัวที่เรารู้จักกันแล้ว ยังมีเกลือที่มีสีและรสชาติแตกต่างกันมากมายบนโลกนี้ โดยเกลือสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ตามการกำเนิด ...
การทำนาเกลือ (เบื้องต้น)
เรียบเรียง : วสุ ชวนะสุพิชญ์ และ สันติ ภัยหลบลี้ เกลือ หรือชื่อในทางเคมีคือ โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็นของแข็งสีขาว มีรสเค็ม ถือเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จำเป็นต้องบริโภคเกลือเฉลี่ย 5-10 กรัม/วัน เพื่อรักษาสมดุลของน้ำในระบบต่างๆ ของร่างกายให้ทำงานได้อย่างปกติ นอกจากนี้เกลือยังมีประโยชน์ในด้านต่างๆ ...
ควอตซ์ . หลาก . สี
เรียบเรียง : นารีรัตน์ อัมพวะศิริ และ สันติ ภัยหลบลี้ ควอตซ์ (quartz) เป็นแร่ชนิดหนึ่งที่มีองค์ประกอบเป็นซิลิกอนและออกซิเจน มีสูตรเคมีคือ SiO₂ เป็นแร่ที่พบมากที่สุดถึงร้อยละ 12 ของเปลือกโลก พบได้ทั้งในหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร โดยทั่วไปแร่ควอตซ์มักอยู่ร่วมกับเฟลด์สปาร์และมัสโคไวท์ เกิดในรูปแบบสายแร่ ...
การหาอายุด้วยวิธีกาลานุกรมต้นไม้
การหาอายุด้วยวิธีกาลานุกรมต้นไม้ (dendrochronology) หรือ การหาอายุด้วยวิธีวงปีต้นไม้ (tree-ring dating) เป็นหนึ่งในหลายๆ วิธี การหาอายุสัมบูรณ์ (absolute-age dating) โดยอาศัยหลักการเทียบเคียง คล้ายๆ กับ การหาอายุสัมพัทธ์ (relative-age dating) ที่ไล่เรียงอายุในเชิงเปรียบเทียบ อันไหนอยู่บนอยู่ล่าง อะไรแก่กว่าอ่อนกว่า ...
แผ่นดินไหวตาม (Aftershock)
แผ่นดินไหวตาม (aftershock) คือ แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นหลังจากเกิด แผ่นดินไหวหลัก (main shock) แต่จะมีขนาดที่เล็กกว่าแผ่นดินไหวหลักเสมอ โดยมักจะเกิดใกล้เคียงกับแผ่นดินไหวหลักทั้งในมิติของเวลาและพื้นที่ ในแง่กลไกของการเกิด แผ่นดินไหวตามเกิดจากแรงเค้นทางธรณีแปรสัณฐานที่เปลี่ยนไปอย่างทันทีทันใดโดยรอบจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวหลัก อันเนื่องมาจากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหวหลัก หรือเรียกว่า แรงเค้นระหว่างเกิดแผ่นดินไหว (co-seismic stress) และเพื่อที่จะปรับสภาพพื้นที่ให้เข้าสู่สภาวะสมดุล พื้นที่โดยรอบจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวหลักที่มีแรงเค้นเพิ่มขึ้น จะปล่อยหรือคลายพลังงานออกมาในรูปของการเกิดแผ่นดินไหวตาม ถึงแม้ว่าขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหวตามจะเล็กกว่าแผ่นดินไหวหลัก ...
มีนิคมอุตสาหกรรมเหล็กร้าง แอบอยู่กลางป่าชายขอบบุรีรัมย์
วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย : สุทธิกานต์ คำศิริ, สุรพล เทวัญรัมย์ และ สันติ ภัยหลบลี้ แร่เหล็กถือ (iron) เป็นหนึ่งในวัสดุที่สำคัญในการผลิตเครื่องมือเครื่องไม้ข้างกายมนุษย์มาอย่างยาวนาน แน่นอนว่าปัจจุบันแหล่งผลิตแร่เหล็กที่สำคัญมีกระจายอยู่ทั่วทุกเห็นโลก ได้แก่ ประเทศจีน ออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย และประเทศรัสเซีย ฯลฯ ...
การหาอายุด้วยวิธีคาร์บอน-14
ทบทวนอะตอม อะตอม (atom) คือ หน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วย นิวเคลียส อยู่ตรงกลางอะตอม โดยภายในนิวเคลียสยังประกอบด้วย โปรตอน (proton) ที่มีประจุบวก และ นิวตรอน (neutron) ที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ซึ่งนิวเคลียสจะถูกห่อหุ้มล้อมรอบด้วยกลุ่ม อิเล็กตรอน (electron) ที่มีประจุลบ ...