สำรวจ

10 ภูเขาไฟ ยุคใหม่ของไทย

นับตั้งแต่ดินแดนที่ปัจจุบันเราเหมาว่าเป็นไทย ถือกำเนิดโผล่พ้นน้ำขึ้นมาเป็น แผ่นเปลือกโลกทวีปย่อย (craton) อย่างน้อยๆ ก็ราวๆ 440-550 ล้านปีก่อน (อายุของ กลุ่มหินตะรุเตา ยุคแคมเบรียนและยุคออร์โดวิเชียน) จวบจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยเคยมีกิจกรรมทางภูเขาไฟมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็น 1) ภูเขาไฟที่เกิดจากการแยกตัวของแผ่นเปลือกโลก ในสมัยที่ประเทศไทยบางส่วน เคยเป็นแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร หรือ 2) ...
สำรวจ

โบราณคดี ใต้ตอต้นตาล

เดินสำรวจแหล่งโบราณคดีมาก็หลายที่ ผู้เขียนก็เพิ่งเคยประสบ ลีลาการพบแหล่งโบราณคดีกันในแบบนี้ สืบเนื่องจากการค้นพบและนำเสนอ แหล่งที่อยู่อาศัยของกลุ่มคนงานถลุงเหล็กโบราณ ในพื้นที่บ้านเขาดินใต้ อ. บ้านกรวด จ. บุรีรัมย์ (เพิ่มเติม : พบหอพักหนุ่มสาวโรงงาน ถลุงเหล็กโบราณ ที่บุรีรัมย์) เพื่อที่จะเพิ่มตัวละครในการร้อยเรื่องราว จึงมีการวางแผนสำรวจเพิ่มเติม ในพื้นที่ข้างเคียง ซึ่งระหว่างการสุ่มสำรวจในละแวก ผู้เขียนพบต้นตาลล้ม ...
สำรวจเรียนรู้แผ่นดินไหว

รวม 6 คำถามพบบ่อย สถานการณ์ของ แผ่นดินไหว x ประเทศไทย

ด้วยการสื่อสารที่ทำกันได้ง่ายขึ้นในปัจจุบัน เรื่องน่าสนใจไม่ว่าจะเล็กจะใหญ่ก็ส่งต่อถึงกันได้ง่ายๆ ผ่านทั้งทางสื่อหลักและสื่อโซเชียล แผ่นดินไหวและพิบัติภัยทางธรณีวิทยาก็เช่นกัน เกิดเมื่อไหร่ ไม่เกินข้ามคืน รู้กันทั่วตั้งแต่หัวบ้านยันท้ายซอย ซึ่งก็โอเคอยู่ ถ้าจะเม้าส์มอยส์กันพอแก้เหงา แต่ถ้าจะเอามากระตุกจิตกระชากใจ ให้กังวล โดยเฉพาะแผ่นดินไหวในประเทศไทย ผู้เขียนว่าเราน่าจะขาดทุน แน่นอนว่าคนไทยมีเรื่องแผ่นดินไหวให้คุยกันเป็นระยะๆ ทั้งแผ่นดินไหวใหญ่ในต่างประเทศ หรือแผ่นดินไหวขนาดปานกลางทั้งในและรอบบ้านของเรา แต่หลายครั้งที่บทสนทนาส่งท้าย ไปลงที่คำทำนายในอนาคต บ้านโน้นโดนอย่างนั้น ซักวันบ้านเราคงจะโดนอย่างนี้ ...
สำรวจ

ศิลาแลง : วัสดุก่อสร้างยอดนิยมในอดีต (ยาวหน่อย แต่อร่อยนะ)

เปิดหัวง่ายๆ เลยครับ ศิลาแลง (laterite) เป็นหนึ่งในวัสดุยอดนิยมในอดีต ที่มักจะถูกนำมาใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเหล่าปราสาท ที่มีอยู่มากมายทั้งในไทยและกัมพูชา ปัจจุบันก็ยังมีการนำศิลาแลงมาใช้ ทั้งบดให้ละเอียดเป็นถนนลูกรัง หรือตัดเป็นก้อนๆ มาปูพื้นแต่งสวน นั่นไง !!! ศิลาแลงถึงได้สำคัญและใกล้ตัว อย่ากระนั้นเลยครับ รู้จักเขาไว้ซักหน่อยก็ดี เผื่อวันดีคืนดี มีโอกาสไปเดินเที่ยวปราสาทกับสาวๆ จะได้มีเรื่องเล่าให้โชว์พาวด์ ...
สำรวจ

เขามีดอีโต้ – ธรณีวิทยาพาเที่ยว

ภูเขารูปมีดอีโต้ หรือที่ทางวิชาการ เรียกว่า ภูมิประเทศเควสตา (cuesta topography) คือ ภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นแนวภูเขาที่มีสันเขาแหลมคม ด้านหนึ่งของฝั่งเขามีความชันสูง ส่วนอีกด้านหนึ่งของฝั่งเขามีความชันต่ำราดลงไป โดยปกติ หากเราพบเห็นภูเขารูปมีดอีโต้ หรือลักษณะภูมิประเทศแบบเควสตา โดยส่วนใหญ่หินในแถบนี้มักจะเป็น หินตะกอน (sedimentary rock) วางตัวเป็นชั้นๆ ตามแนวของฝั่งเขาที่มีความชันสูง และชั้นหินทุกชั้นจะวางตัวเอียงเทไปทางฝั่งที่มีความชันต่ำของแนวเขา ...
สำรวจ

พบหอพักหนุ่มสาวโรงงาน ถลุงเหล็กโบราณ ที่บุรีรัมย์

ในการเปิดเวย์สำรวจใหม่ในแต่ละพื้นที่ บ่อยครั้งที่นักโบราณคดี พบหลักฐานกิจกรรมการทำงานของมนุษย์ในอดีต ไม่ว่าจะเป็นการทำเหมืองหินก่อสร้าง (หินทราย-ศิลาแลง) เตาผลิตเครื่องปั้นดินเผา หรือ กองเนินตระกัน (ขี้แร่) ที่บ่งชี้ถึงกิจกรรมการถลุงโลหะ ซึ่งหลักฐานเหล่านี้ ล้วนเป็นตัวบ่งชี้การ (เคย) มีอยู่ของกลุ่มคน หรือชุมชน ณ สถานที่นั้นๆ อย่างไรก็ตาม ถ้าจะเก็บงานให้ละเมียด ปิดจ๊อบแบบละเอียด ...
สำรวจ

ปราสาทเมืองเก่า เนียงเขมาเมืองไทย

สำรวจโดย : สันติ ภัยหลบลี้ และ กังวล คัชชิมา ในการเที่ยวชมปราสาทหินทั้งของไทยและกัมพูชา หนึ่งในลีลาที่คนพื้นที่หรือไกด์ทัวร์ พยายามจะสร้างสเน่ห์ให้ปราสาทแต่ละที่ให้มีความเป็นปัจเจก มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร คือการสกัดจุดเด่น และตั้งฉายาให้กับปราสาทแต่ละหลัง เช่นปราสาทในแถบนครวัด-นครธม ก็จะเน้นความยิ่งใหญ่อลังการ ปราสาทเกาะแกร์ ได้ฉายาว่า พีระมิดแห่งเอเชีย ปราสาทบันทายสรี ถึงจะเป็นประสาทขนาดเล็กแต่ก็มีการแกะสลักหินให้มีลวดลายวิจิตรงดงาม ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 15 การลำดับชั้นหิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 5 โครงสร้างภายในโลก

1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา เติมในช่องว่างด้านซ้ายในแต่ละข้อที่กำหนดให้ เพื่ออธิบายความหมายของคำด้านซ้ายอย่างถูกต้องและเหมาะสม 1. ____ง.   ก. เนื้อโลก (mantle) 2. ____ข.   ข. แผ่นเปลือกโลกทวีป ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 4 แผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 6 ภูเขาไฟและหินอัคนี

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 14 ตะกอนและหินตะกอน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 2 แร่และหิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าชื่อแร่ด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีระดับความแข็งตาม ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 16 ธรณีประวัติ

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 13 ทะเลทราย

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 10 มหาสมุทรและพื้นทะเล

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายภูมิลักษ์ของพื้นมหาสมุทรทางด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 9 น้ำใต้ดิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 8 น้ำผิวดิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
สำรวจ

ข้อย้อนแย้ง ธรณีวิทยา-โบราณคดี : กรณีวัดแสนตุ่ม อ. เขาสมิง จ. ตราด

วัดแสนตุ่ม หรือ วัดเขาโต๊ะโม๊ะ อ. เขาสมิง จ. ตราด คือหนึ่งในแหล่งโบราณคดี ที่ทางกรมศิลปากรได้ประกาศและขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเอาไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ในนาม เมืองเก่าแสนตุ่ม ซึ่งลักษณะโดยทั่วไปของพื้นที่ คือสภาพเนินลูกโดด ตั้งตระหง่านอยู่กลางพื้นที่ราบภายในวัด โดยความสูงของเนิน ประเมินด้วยสายตา กะได้คร่าวๆ ว่า ...
สำรวจ

3 ขั้นตอน ตัดหินโบราณ กับหลักฐานชัดสุดๆ เท่าที่เคยเห็นมา

ตั้งต้นจาก การมีอยู่ไม่น้อย ของปราสาทหินในประเทศไทย โดยเฉพาะภาคอีสาน ทำให้หนึ่งในประเด็นทางโบราณคดีที่น่าสนใจคือ ประเด็นวัสุดก่อสร้าง ปราสาทสร้างจากหินอะไรอ่ะ ? ไปเอาหินกันมาจากไหนนะ ? แล้ว ขนหินหนักๆ มากันยังไงเนี่ย ? เหล่านี้ล้วนเป็นคำถามติดใจทุกครั้ง เวลาเราไปเที่ยวชมปราสาทหิน ซึ่งจากการบุกป่าฝ่าดงของนักโบราณคดีรุ่นใหญ่ในสมัยก่อน ปัจจุบันมีรายงานแหล่งตัดหินโบราณ กระจายอยู่ในหลายพื้นที่ เช่น ...
สำรวจ

หินตั้ง – ใครคนตั้ง ?

ในบรรดาปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ การมีหินก้อนใหญ่ๆ เหมือนถูกใครจับมาวางตั้งไว้บนยอดเขา เป็นหนึ่งในกิริยาที่คนทั่วไปมักจะรู้สึกว้าว ศรัทธาในความอัศจรรย์ และก็มีอยู่หลายที่ที่ถูกสถาปนาให้มีศักดิ์สิทธิ์ ตัวอย่างเช่น พระธาตุไจที่โย่ หรือ พระธาตุอินทร์แขวน ในประเทศพม่า จากความหาเหตุผลไม่ได้ ว่าทำไมหินก้อนใหญ่ถึง (ดูเหมือนกับว่า) มาตั้งบนยอดเขา ความเชื่อและเรื่องราวจึงถูกร้อยเรียงขึ้น โดยมีใจความว่า หินที่พระธาตุอินทร์แขวน เป็นหินที่พระอินทร์นำมาแขวนเอาไว้ จากการควานหาสถานที่ที่มีหินตั้งทั่วประเทศ ...
สำรวจ

ธรณีวิทยา เสาหินเหลี่ยม

เสาหินเหลี่ยม (columnar joint) คือ หนึ่งในหลายๆ รูปแบบของโครงสร้างทางธรณีวิทยา (geological structure) ที่แสดงการแตกอย่างเป็นระบบของมวลหิน โดย ระบบรอยแตก (joint set) ทั่วไป เกิดจากแรงบีบอัด (compression stress) ของแรงทางธรณีแปรสัณฐาน ที่เข้ามากระทำมวลหิน ทำให้หินปริแตกในแนวตั้งฉากกับแนวแรงที่กระทำ ...
สำรวจ

“บาราย” ในประเทศไทย ทำไมแห้ง ?

ในวัฒนธรรมเขมรโบราณ เพื่อที่จะสำรองน้ำไว้ใช้ แต่ละชุมชนนิยมสร้างภาชนะกักเก็บน้ำ 2 รูปแบบ คือ 1) ตระพัง หมายถึง สระน้ำขนาดเล็กรูป 4 เหลี่ยมผืนผ้าเป๊ะๆ กว้างประมาณ 200-300 เมตร ยาวประมาณ 400-600 เมตร ซึ่งด้วยความที่ขนาดตระพังอยู่ในวิสัยที่พอขุดได้ การสร้างตระพังจึงเริ่มจากการขุดพื้นที่ให้ลึกลงไปจากระดับดินเดิม ...
สำรวจ

ฤา ศรีเทพจะมี 3 เมือง ซ้อนทับกัน ?

ถ้าใครได้กดสับตะไคร้ ติดตามความเป็นมาเป็นไปของ อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ หรือ เมืองโบราณศรีเทพ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ก็จะรู้ว่า ณ ห้วงเวลา ต่อจากนี้ไป ไอ ไอ ไอ ไอ … ศรีเทพ ได้ถูกอวยยศจากยูเนสโกให้เป็น มรดกโลกทางวัฒนธรรม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว แอ๊ว ...
สำรวจ

พระหินทรายสมัยอยุธยา แหล่งที่มาและเส้นทางขนหิน

ในการศึกษาและกำหนดอายุโบราณวัตถุของแต่ละยุคสมัย นอกเหนือจากการพินิจรูปแบบศิลปะ วัสดุที่นำมาใช้สร้างโบราณวัตถุ ก็เป็นอีกหนึ่งตัวบ่งชี้ที่อาจช่วยแปลความเรื่องราวและกำหนดห้วงเวลาทางโบราณคดีได้อยู่บ้าง อย่างในสมัยอยุธยา นอกจากลวดลายและสไตล์เฉพาะตัว หากสังเกตุดูดีๆ จะพบว่าพระพุทธรูปจำนวนมากในสมัยอยุธยา นิยมสร้างจากการแกะสลักขึ้นรูปหินทราย ที่พอจะหามาได้จากธรรมชาติ พระพุทธรูปบางองค์ก็โชว์เนื้อหินทรายเปลือย ส่วนบางองค์ก็ใช้หินทรายเป็นโครงสร้างหลักด้านใน และใช้ปูนปั้นเก็บรายละเอียดลวดลายผิวด้านนอก พระหินทราย กระจายตัวอยู่ที่ไหนบ้าง จากการรวบรวมข้อมูลเชิงเอกสารและนั่งจิ้มตำแหน่งบนแผนที่ แหล่งพระพุทธรูปหินทรายสมัยอยุธยา ที่กระจายตัวอยู่ตามที่ต่างๆ พบว่าโดยส่วนใหญ่ พระพุทธรูปหินทรายสมัยอยุธยา ...
สำรวจ

ถมอรัตน์ ภูเขาคู่บารมี เมืองศรีเทพ

นอกเหนือจาก โบราณสถาน เขาคลังนอก และโบราณสถานอื่นๆ ทั้งในและนอกเมืองอีกกว่า 100 แห่ง เขาถมอรัตน์ ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งตัวละครสำคัญ ที่ช่วยแต่งเติมเสริมสีสันอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ให้มีความยิ่งใหญ่อลังการมากยิ่งขึ้น เพราะจากการสำรวจทางโบราณคดีที่ผ่านมาพบว่า ถมอรัตน์ไม่ใช่แค่ภูมิประเทศรอบตัวทั่วไป แต่บนเขาถมอรัตน์ มีหลักฐานทางโบราณคดีที่ทรงคุณค่า และช่วยเชื่อมต่อเรื่องราวว่า ในอดีตคนศรีเทพและเขาถมอรัตน์ผูกพันธ์กัน ทำไม ถมอรัตน์ ...
สำรวจ

ทำไม ศรีเทพ ถึงยิ่งใหญ่นัก ?

ภาพปก : โบราณสถาณเขาคลังนอก เมืองโบราณศรีเทพ (ที่มา : ศิลปวัฒนธรรม www.silpa-mag.com) ในบรรดาแหล่งท่องเที่ยวทางโบราณคดีของไทย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ หรือ เมืองโบราณศรีเทพ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ จัดได้ว่าเป็นท็อปเท็น-ท็อปไฟว์ เมืองโบราณสำคัญที่ควรค่าแก่การกดติดตาม และกดกระดิ่ง ยิ่งในปี พ.ศ. 2566 มงเพิ่งจะลงศรีเทพมาหมาดๆ ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 18 กระบวนการแปรสภาพและหินแปร

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อ ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 19 ทรัพยากรธรณี

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 11 คลื่นและกระบวนการชายฝั่ง

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
สำรวจ

ปากแม่น้ำโบราณ ของไทย

ในบรรดา ภูมิลักษณ์ (landform) รูปแบบต่างๆ บนพื้นผิวโลก ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta) ถือเป็นภูมิลักษณ์อันดับหนึ่งที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดต่อการเกษตรกรรม อุดมยิ่งกว่า ที่ราบน้ำท่วมถึง (floodplain) อย่างที่เราเคยรู้กัน ทั้งนี้ก็เพราะดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเป็นพื้นที่สุดท้าย ที่คอยรวบรวมอินทรีย์วัตถุที่สะสมมาตลอดทาง จากต้นน้ำสู่ปลายน้ำให้ตกสะสมในบริเวณนี้ ตัวอย่างที่เห็นชัดในแถบบ้านเรา คือ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง พื้นที่ต้นเหตุสำคัญ ที่ทำให้ทั้งกัมพูชาและเวียดนามปลูกข้าวได้ปริมาณมาก ...
สำรวจ

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta)

แม้จะมีรูปร่างหน้าตาคล้ายกัน แต่กระบวนการสะสมตัวของตะกอนและการเกิด ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta) จะแตกต่างจาก เนินตะกอนรูปพัด (alluvial fan) ตรงที่ เนินตะกอนรูปพัดเกิดจากน้ำที่ไหลแรงในร่องเขา ลดความเร็วและแผ่ซ่านเมื่อไหลออกสู่ที่ราบ ทำให้ตะกอนตกสะสมที่ หน้าเขา (mountain font) เป็นรูปพัด ส่วนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ แม่น้ำหอบตะกอนไหลวิ่งไปชนกับคลื่นและมวลน้ำทะเล (หรือทะเลสาบ) ทำให้ตะกอนพัดพาไปต่อไม่ได้ ...
วิจัย

ภูมิบ้านนามเมือง : เนิน-โนน-โพน-โคก

ภูมินามวิทยา (toponymy) คือ ศาสตร์ทางด้านภาษา ที่ศึกษาความหมายหรือนัยสำคัญ ของชื่อสถานที่ต่างๆ ที่ตั้งขึ้น ว่าสื่อสัมพันธ์หรือสำแดงลักษณะเฉพาะอะไรที่โดดเด่น ไม่ว่าจะเป็น กลุ่มภาษา พืชพันธุ์ สัตว์ สิ่งปลูกสร้าง ทรัพยากร รวมไปถึง ลักษณะภูมิประเทศที่ถิ่นฐานนั้นตั้งอยู่ ตัวอย่างเช่น เช่น บ้านไทรงาม อาจหมายถึงมีต้นไทรอยู่มากมายในอดีต ...
สำรวจ

ดินบรรพกาล (paleosol) : ประโยชน์ในการตีความทางธรณีวิทยา

ทุกคนรู้จัก ดิน (soil) แต่ ดินบรรพกาล (paleosol) เป็นยังไง ? เชื่อว่าน้อยคนที่จะรู้จัก ทำไมต้องรู้จัก มันมีประโยชน์ในการสำรวจทางธรณีวิทยายังไงบ้าง ว่างๆ ลองอ่านเล่นๆ กันนะครับ 1) กำเนิดดิน ในทางธรณีวิทยา วัสดุโลก (earth material) ...
เรียนรู้

การเวียน-ว่าย-ตาย-เกิด ของเปลือกโลก EP. 2 : ทวีปแตกร้าว

ผลจากการสู้กันระหว่าง การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความลึก (geothermal gradient) และ ความดันปิดล้อม (confining pressure) ทำให้ 1) เปลือกโลกเป็นของแข็ง 2) เนื้อโลกมีสถานะพลาสติก 3) แก่นโลกชั้นนอกเป็นของเหลว และ 4) แก่นโลกชั้นในเป็นของแข็ง ส่วน แมกมา ...
เรียนรู้

การเวียน-ว่าย-ตาย-เกิด ของเปลือกโลก EP. 1 : ทวีปเสถียร

สมัยก่อน ย้อนกลับไป 50-100 ปี หลังจากนักธรณีวิทยาเริ่มสำรวจการกระจายตัวของหิน แร่และภูมิประเทศได้มากพอ การประมวลผลและคำถามว่า “ทำไม” จึงเริ่มผุดขึ้น ทำไมสระบุรีต้องมีหินปูน ? ทำไมอีสานถึงเป็นหินทราย ? ทำไมภาคเหนือต้องเป็นเทือกเขาสลับที่ราบ ? ทำไมภาคกลางถึงลุ่มต่ำ ? ซึ่งต่อมา คำถามต่างๆ เหล่านี้ ...
สำรวจ

หมุดหมายการเดินทาง คนโบราณ (Ancient Viewshed)

คิดผ่านๆ เพลินๆ คนเดินทางสมัยโบราณ น่าจะอาศัยดูดาวหรือจับทิศลม แต่พอตั้งสติคิดดูดีๆ อ้าวเฮ้ย !!! ต้องเป็นคนแบบไหนถึงชอบเดินทางกันตอนกลางคืน ถ้าเลือกได้ ซึ่งก็เลือกได้ ไม่ว่าจะอดีตหรือปัจจุบัน คนเราก็ชอบเดินทางตอนกลางวันกันทั้งนั้น เพราะสว่างชัด วิสัยทัศเยี่ยม ซึ่งหากไม่ชินทาง คนสมัยนี้ก็คงพึ่งพา google map ในโทรศัพท์ แล้วถ้าในสมัยก่อน ...
สำรวจ

“ถนนพระร่วง” สุโขทัย คืออะไรกันแน่ ?

นอกจากความเป็นราชธานีแห่งแรกของไทย ตามที่เราเข้าใจสมัยประถมฯ อาณาจักรสุโขทัย เป็นอีกหนึ่งเมืองโบราณที่ถูกกล่าวขานกันมาตลอด ทั้งในเรื่องความเจริญก้าวหน้าด้านภาษา (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) และลีลาการบริหารจัดการน้ำในอดีต โดยในส่วนของตัวเมืองสุโขทัย กรรมวิธีกักเก็บน้ำไว้กินไว้ใช้ สำแดงไว้อย่างชัดแจ้งผ่านการสร้าง สรีดภงส์ หรือ ทำนบพระร่วง ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นที่กั้นกักน้ำ ที่ไหลลงมาจาก เขาประทักษ์ ทางตะวันตกของตัวเมือง หลังจากนั้นจึงผันน้ำผ่าน คลองเสาหอ ที่ยาวกว่า ...
สำรวจ

8 ลีลา คนโบราณ บริหารจัดการน้ำ

สันติ ภัยหลบลี้ และ ชวลิต ขาวเขียว ภาพปก : วารสารเมืองโบราณ น้ำ คือ ชีวิต ทั้งกินทั้งใช้ทั้งทำไร่ทำนา ต้องมีน้ำเข้ามาเอี่ยวเกี่ยวแทบทั้งสิ้น ในสมัยนี้การจัดการน้ำก็ยังดีหน่อย เพราะด้วยองค์ความรู้ที่มีและเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำให้คนรู้จักกักเก็บน้ำไว้ใช้ทั้ง น้ำผิวดิน (surface water) และ ...
สำรวจ

เผยสูตรลับ ฐานรากอาคารโบราณ – กรณีศึกษา (บาง) ปราสาทหิน บุรีรัมย์

ทีมสำรวจ : เกชา-สุวภา-ชลิดา-วัชราภา เจริญศิริมณี ปัจจุบันในวงการก่อสร้าง เพื่อให้ตัวอาคารมั่นคงในทางวิศวกรรม วิศวกรเลือกที่จะใช้การตอกเสาเข็ม ก่อนที่จะสร้างอาคารใดๆ อย่างไรก็ตาม ในสมัยโบราณที่เทคโนโลยีเสาเข็มยังไม่มีใช้ แต่เพื่อให้อาคารยังแข็งแรงตั้งอยู่ได้ การปรับปรุงและการสร้างความแข็งแกร่งให้กับฐานรากก่อนสร้างอาคารจึงมีความจำเป็น จากการสำรวจและประมวลถาพรวมในหลายๆ พื้นที่ พบว่าปราสาทในอารยธรรมเขมรโบราณ มักมีการปรับปรุงรากฐาน ก่อนที่จะนำหินทรายหรือศิลาแลงมาวางเป็นตัวประสาทต่อไป อย่างที่เราทราบกันว่าในปัจจุบัน วัสดุที่นิยมนำมาใช้ในการปรับพื้นหรือฐานราก คือ ...