เรียนรู้

แบบฝึกหัด 11 คลื่นและกระบวนการชายฝั่ง

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด

แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด

1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1)

คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน

1.____hookก.หน้าผาที่ยื่นออกสู่ทะเล
2.____tomboloข.สันดอนจงอยโค้ง
3.____abyssal plainค.กระแสน้ำตื้นและกว้าง
4.____gulf streamง.แหล่งสะสมตะกอนทะเลลึก
5.____jettyจ.สะสมตัวหลังเกิดโขดทะเล
6.____sea notchฉ.กระแสน้ำในที่แคบและลึก
7.____headlandช.แนวปะการังเป็นวงกลม
8.____atollซ.แนวสันทรายขนานชายฝั่ง
9.____canary currentฌ.หลักฐานระดับน้ำทะเลในอดีต
10.____barrier islandญ.โครงสร้างป้องกันทรายบริเวณปากอ่าว

2) แบบฝึกหัดจับคู่ (2)

คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน

องค์ประกอบต่างๆ ของคลื่นบริเวณนอกหาดและใกล้หาด
1.____ ก.คลื่นหัวแตก (breaker)
2.____ ข.หน้าหาด (beach face)
3.____ ค.ยอดคลื่น (crest)
4.____ ง.ความสูงคลื่น (wave high)
5.____ จ.โซนคลื่นหัวแตก (surf zone)
6.____ ฉ.ท้องคลื่น (trough)
7.____ ช.ความยาวคลื่น (wavelength)
8.____ ซ.คลื่นน้ำลึก (deep water wave)
9.____ ฌ.ฝั่ง (coast)
10.____ ญ.เนินทราย (dune)

3) แบบฝึกหัดจับคู่ (3)

คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน

ภูมิลักษณ์บริเวณชายฝั่ง ที่เกิดจากกระบวนการกัดกร่อนและสะสมตัวของตะกอนหิมหาด
1.____ ก.สันดอนเชื่อมเกาะ (tombolo)
2.____ ข.ลานคลื่นเซาะ (wave-cut bench)
3.____ ค.ลากูน (lagoon)
4.____ ง.โขดทะเล (sea stack)
5.____ จ.ถ้ำทะเล (sea cave)
6.____ ฉ.กระแสคลื่นขนานฝั่ง (longshore current)
7.____ ช.ซุ้มหินโค้ง (sea arch)
8.____ ซ.สันดอนจงอย (spit)
9.____ ฌ.สันทรายปิดอ่าว (bay mouth bar)
10.____ ญ.หน้าผาคลื่นตัด (wave-cut cliff)

4) แบบฝึกหัดถูก-ผิด

คำอธิบาย : เติมเครื่องหมาย T หน้าข้อความที่กล่าวถูก หรือเติมเครื่องหมาย F หน้าข้อความที่กล่าวผิด

1.____สมุทรศาสตร์ (oceanography) คือสาขาย่อยของ ธรณีวิทยา (geology)
2.____กระแสคลื่นขนานฝั่ง (longshore current) มีสาเหตุมาจากลมที่พัดขนานไปกับชายฝั่ง
3.____ความสูงของคลื่นในทะเลสัมพันธ์กับความแรงของลมที่พัดผ่านมหาสมุทร
4.____คลื่นในมหาสมุทรเกิดจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์
5.____กระแสน้ำใน โซนคลื่นหัวแตก (surf zone) เคลื่อนที่แบบ translatory
6.____คลื่นในมหาสมุทรเมื่อซัดเข้าฝั่งจะเริ่มหักเหเปลี่ยนทิศทางหลังจากที่ท้องคลื่นเริ่มแตะพื้นทะเล
7.____ดวงจันทร์ถึงแม้ว่าจะมีขนาดเล็กกว่าดวงอาทิตย์แต่แรงดึงดูดของดวงจันทร์ส่งผลต่อ น้ำขึ้น-น้ำลง (tide) มากกว่า เนื่องจากดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากกว่าดวงอาทิตย์
8.____ปรากฏการณ์กำแพงน้ำ (tidal bore) สัมพันธ์กับ กระแสน้ำขึ้น-น้ำลง (tidal current) และมักเกิดในบริเวณปากแม่น้ำ
9.____ชายหาด (shoreline) ที่มีหน้าหาดความชันต่ำ มีโอกาสที่จะถูกกัดกร่อนได้ง่ายกว่าแนวชายฝั่งที่ชันและมีหน้าผา
10.____ป่าชายเลน (mangrove) ช่วยขยายพื้นที่ชายฝั่งให้เพิ่มมากขึ้นไปทางทะเล
11.____กระแสคลื่นกว้าน (rip current) เกิดขึ้นได้ในกรณีที่คลื่นหัวแตกมีความสูงมาก
12.____โซนคลื่นหัวแตก (surf zone) คือโซนหลักที่มีการพัดพาเม็ดตะกอนตามชายหาด
13.____ชายฝั่งทั่วโลกกำลังถูกกัดกร่อนในปัจจุบัน
14.____ซีกโลกเหนือถือเป็นซีกโลกแห่งแผ่นดิน (land hemisphere)
15.____ในช่วงยุคน้ำแข็งครั้งล่าสุด ชายหาด (shoreline) ทั่วโลกอยู่ในทะเลปัจจุบัน เนื่องจากระดับน้ำทะเลที่ลดลง
16.____การหักเหของคลื่นสัมพันธ์กับกระบวนการเกิด โขดทะเล (sea stack)
17.____โขดทะเล (sea stack) ทั้งหมด ในอดีตเคยเชื่อมต่อติดกับแผ่นดินใหญ่
18.____ชวากทะเล (estuary) คือลักษณะเฉพาะที่พบได้บริเวณ ฝั่งยกตัว (uplift coast)
19.____โคลน (mud) ไม่สามารถสะสมตัวในพื้นที่ชายฝั่ง
20.____ช่วงเวลาของวันที่น้ำลงต่ำที่สุดสัมพันธ์กับ น้ำตาย (neap tide)

5) แบบฝึกหัดปรนัย

คำอธิบาย : ทำเครื่องหมาย X หน้าคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว จากตัวเลือกที่กำหนดให้

1. ข้อใดคือสาเหตุการเกิดคลื่นน้ำในมหาสมุทรโดยส่วนใหญ่

 ก.ลมข.การปะทุของภูเขาไฟใต้น้ำ
 ค.น้ำขึ้น-น้ำลงง.การหมุนรอบตัวเองของโลก

2. ข้อใดคือระยะทางจากยอดคลื่นถึงยอดคลื่นข้างเคียง

 ก.ความยาวคลื่น (wavelength)ข.ความถี่คลื่น (wave frequency)
 ค.คาบคลื่น (wave period)ง.ความเร็วคลื่น (wave velocity)

3. ข้อใดคือกระแสน้ำแคบๆ ที่ไหลตรงกลับไปในทะเลในบริเวณ โซนคลื่นหัวแตก (surf zone)

 ก.body currentข.rip current
 ค.swash currentง.tidal current

4. เหตุใดตะกอนชายหาดโดยส่วนใหญ่จึงเป็นแร่ควอตซ์ขนาดทราย

 ก.หาดโดยส่วนใหญ่สร้างมาจากหินที่มีแร่ควอตซ์ข.แร่ควอตซ์เป็นแร่ชนิดเดียวที่มีขนาดทราย
 ค.แร่ควอตซ์เป็นแร่ที่ทนต่อการผุพังทางเคมีง.ถูกทุกข้อ

5. ข้อใดคือสาเหตุของการเคลื่อนที่มวลทรายขนานไปกับชายฝั่ง

 ก.longshore driftข.sediment transportation
 ค.sedimentationง.longshore current

6. ข้อใดคือแหล่งที่มาสำคัญของทรายตามชายหาด

 ก.ทรายที่อยู่ตามปากอ่าวข.ทรายที่พัดพามาตามธารน้ำบนบก
 ค.ทรายจากนอกชายฝั่งง.ทรายจากการกัดกร่อนหัวหาด

7. ข้อใดคือแนวปะการังขนานไปกับชายฝั่งโดยมี ลากูน (lagoon) กั้นกลางระหว่างแนวปะการังและแผ่นดิน

 ก.patch reefข.barrier reef
 ค.atollง.fringing reef

8. ภูมิลักษณ์ใดที่สามารถพบได้ตามแนวชายฝั่งที่มีกระบวนการกัดกร่อน

 ก.โขดทะเล (sea stack)ข.หัวหาด (headland)
 ค.หน้าผา (cliff)ง.ถูกทุกข้อ

9. ข้อใดแสดงถึงกระบวนการสะสมตัวของตะกอนตามแนวชายฝั่ง

 ก.ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta)ข.สันดอนจงอย (spit)
 ค.สันทรายปิดอ่าว (bay mouth bar)ง.ถูกทุกข้อ

10. ข้อใดคือหุบเขาลึกในบริเวณธารน้ำแข็งเนื่องจากระดับน้ำทะเลลดลง

 ก.fjordข.shoreline
 ค.tomboloง.estuary

11. ขนาดของคลื่นในมหาสมุทรสัมพันธ์กับปัจจัยใด

 ก.ความนานของลมที่พัดเหนือน้ำข.ระยะทางที่ลมพัดเหนือน้ำ
 ค.ความเร็วของลมที่พัดเหนือน้ำง.ถูกทุกข้อ

12. ข้อใดคือ น้ำขึ้น-น้ำลง (tide) ที่เกิดระดับน้ำขึ้นและลงไม่เท่ากัน

 ก.mixedข.semi-diurnal
 ค.diurnalง.ไม่มีข้อใดถูก

13. ตะพักทะเล (marine terrace) เป็นภูมิลักษณ์ที่พบได้กับแนวชายฝั่งชนิดใด

 ก.ฝั่งยกตัว (uplift coast)ข.ฝั่งกัดกร่อน (erosional coast)
 ค.ฝั่งทรุดตัว (drowned coast)ง.ฝั่งสะสมตัว (deposition coast)

14. ข้อใด ไม่ใช่ ภูมิลักษณ์ที่เกิดขึ้นตามแนวชายฝั่ง

 ก.tomboloข.seashore
 ค.sea stackง.bay mouth bar

15. คลื่นพายุซัดฝั่ง (storm surge) เกิดจากสาเหตุใด

 ก.ความดันอากาศต่ำ น้ำทะเลใต้พายุยกตัวเล็กน้อยใต้พายุข.ลมที่รุนแรงพัดจากทะเลเข้าหาฝั่ง
 ค.มีพายุเคลื่อนที่ใกล้แนวชายฝั่งง.ถูกทุกข้อ

16. ข้อใดคือผลจากการที่คลื่นในมหาสมุทรพัดเข้าหาฝั่งโดยทำมุมกับชายฝั่ง

 ก.เกิดความเสียหายกับชายฝั่งข.เกิดคลื่นหัวแตก
 ค.เกิดการหักเหง.เกิดกระแสคลื่นกว้าน

17. ในบริเวณน้ำตื้น เกิดคลื่นหัวแตก (surf) ได้อย่างไร

 ก.คลื่นเข้าปะทะกับชายฝั่งข.คลื่นมีความเร็วสูงขึ้น
 ค.คลื่นมีความเร็วลดลง ทำให้ยอดคลื่นสูงขึ้นง.น้ำตื้นมากเกินไป

18. ข้อใดคือความลึกสูงที่สุดที่ส่งผลต่อท้องคลื่น เมื่อท้องคลื่นเริ่มแตะภูมิประเทศใต้ทะเล

 ก.1/2 ความยาวคลื่น (wavelength)ข.1/2 คาบคลื่น (period)
 ค.1/2 ความถี่คลื่น (frequency)ง.ไม่มีข้อใดถูก

19. ข้อใดคือน้ำขึ้นสูงที่สุดของการเกิด น้ำขึ้น-น้ำลง (tide)

ก.springข.neap
 ค.ebbง.full moon

20. ข้อใดคือ น้ำขึ้น-น้ำลง (tide) ที่เกิดน้ำขึ้นและน้ำลงวันละ 2 ครั้ง

 ก.mixedข.semi-diurnal
 ค.diurnalง.ไม่มีข้อใดถูก

21. ข้อใดคือส่วนที่หลงเหลือจากกระบวนการกัดกร่อนโดยคลื่น (wave erosion)

 ก.สันดอนจงอย (spit)ข.สันดอนเชื่อมเกาะ (tombolo)
 ค.คันดักทราย (groin)ง.โขดทะเล (sea stack)

22. พื้นที่ใดมี ชายหาด (shoreline) ตื้นและยาวลงไปในทะเล

 ก.เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกข.ขอบทวีปสถิต
 ค. หมู่เกาะรูปโค้งปะการังง.ขอบทวีปจลน์

23. สันทรายที่เชื่อมระหว่างเกาะและแผ่นดินใหญ่หรือเกาะอื่นๆ เรียกว่าอะไร

 ก.jettyข.sea stack
 ค.tomboloง.ไม่มีข้อใดถูก

24. ข้อใดคือแนวปะการังวงกลมที่ปิดล้อม ลากูน (lagoon) ในบริเวณภูเขาไฟ

 ก.coral reefข.seamount
 ค.guyotง.atoll

25. คลื่น (wave) สร้างขึ้นจากปัจจัยใด

 ก. แรงดึงดูดจากดวงจันทร์ข. การหมุนรอบตัวเองของโลก
 ค.แรงดึงดูดจากดวงอาทิตย์ง.การกระทำของลม

26. ภูมิลักษณ์แบบใดที่บ่งบอกว่าพื้นที่บริเวณนั้นยกตัวสูงขึ้นจากกระบวนการธรณีแปรสัณฐานหรือระดับน้ำทะเลลดต่ำลง

 ก. ชวากทะเล (estuary)ข. ตะพักทะเล (marine terrace)
 ค. โขดทะเล (sea stack)ง. สันดอนเชื่อมเกาะ (tombolo)

27. โครงสร้างแบบใดสามารถช่วยป้องกันการกัดเซาะยมวลทรายตาม กระแสคลื่นขนานฝั่ง (longshore current) ได้

 ก.เขื่อนกันทรายและคลื่น (jetty)ข.กำแพงกันคลื่น (seawall)
 ค.เขื่อนกันคลื่น (breakwater)ง.ถูกทุกข้อ

28. ข้อใดคือภูมิลักษณ์ที่เกิดจากการกัดกร่อนโดยคลื่น

 ก.สันดอนจงอย (spit)ข.ชวากทะเล (estuary)
 ค.ซุ้มหินโค้ง (sea arch)ง.เขื่อนกันคลื่น (breakwater)

29. เหตุใด กำแพงกันคลื่น (seawall) จึงต้องมีผิวหน้าที่โค้งมน

 ก.ป้องกันผลกระทบจากแรงโคริออริสข.ประหยัดวัสดุก่อสร้าง
 ค.ลดแรงกระแทกของคลื่นโดยตรงง.ไม่มีข้อใดถูก

30. ความสูง (amplitude) ความยาว (wavelength) และคาบ (period) ของคลื่นขึ้นอยู่กับอะไร

 ก.ความยาวนานของลมข. ความโปร่งของการพัดของลม
 ค.ความเร็วลมง.ถูกทุกข้อ

31. กระแสคลื่นขนานฝั่ง (longshore current) เกิดจากข้อใด

 ก.การแกว่งของน้ำขึ้น-น้ำลงข.การสะท้อนของคลื่นไป-มา
 ค.การหักเหของคลื่นไป-มาง.ไม่มีข้อใดถูก

32. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยการเพิ่มขึ้นของการกัดกร่อนแนวชายฝั่ง

ก.แนวชายฝั่งมีหัวหาดที่ชัดเจนข.แนวรอยแตกของชั้นหินบริเวณชายฝั่ง
 ค.แนวชายฝั่งมีความชันหน้าหาดต่ำง.แนวชายฝั่งวางตัวตั้งฉากกับทิศทงลมหลัก

33. การเคลื่อนที่ของน้ำขนานไปกับชายฝั่งภายใน โซนคลื่นหัวแตก (surf zone) เรียกว่าอะไร

ก.กระแสน้ำขึ้น-น้ำลง (tidal current)ข.กระแสความเค็ม (salinity current)
 ค.กระแสคลื่นขนานฝั่ง (longshore current)ง.กระแสคลื่นกว้าน (rip current)

34. ข้อใด ไม่ใช่ สภาวะที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของปะการังใน แนวปะการัง (coral reef)

 ก.น้ำอุ่นข.มีแสงอาทิตย์เพียงพอ
 ค.น้ำตื้นง.มีตะกอนแขวนลอยจำนวนมาก

35. เมื่อคลื่นเข้าใกล้ชายหาดตื้น คลื่นน้ำโดยส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะขนานไปกับชายฝั่ง เนื่องจากสาเหตุใด

 ก.การแกว่ง (oscillation)ข.การหักเห (refraction)
 ค.การสะท้อน (reflection)ง.การครูดถู (abrasion)

36. ข้อใดคือพื้นที่หินราบเรียบคล้ายกับกระดานเนื่องจากถูกคลื่นกัดเซาะ

 ก.โขดทะเล (sea stack)ข.เขื่อนกันทรายและคลื่น (jetty)
 ค.สันดอนจงอย (spit)ง.ไม่มีข้อใดถูก

37. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะเฉพาะของ ขอบทวีปจลน์ (active continental margin)

 ก.ร่องลึกก้นสมุทรข.แผ่นดินไหว
 ค.หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้งง.ไหล่ทวีป

38. ข้อใดคือน้ำลงต่ำที่สุดของการเกิด น้ำขึ้น-น้ำลง (tide)

 ก.springข.neap
 ค.ebbง.full moon

39. ข้อใดคือสาเหตุที่ทำให้คลื่นเปลี่ยนแปลงทิศทางในน้ำตื้น

 ก.การดูดซับข.การสะท้อน
 ค.การหักเหง.การกัดกร่อน

40. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ แรงโคริออริส (coriolis force)

 ก.มีผลมากที่สุดแถบเส้นศูนย์สูตรข.พบเฉพาะในซีกโลกเหนือ
 ค.เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลกง.มีผลต่อการเกิดน้ำขึ้น-น้ำลง

41. ข้อใดคือภูมิลักษณ์ที่เหมาะสมในการพัฒนา สันดอนเชื่อมเกาะ (tombolo) ในอนาคต

 ก.เว้าทะเล (sea notch)ข.โขดทะเล (sea stack)
 ค.ซุ้มหินโค้ง (sea arch)ง.ถ้ำทะเล (sea cave)

42. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ การเคลื่อนที่ของทรายขนานไปกับชายฝั่ง

 ก.เกิดจากคลื่นเข้าปะทะชายฝั่งแบบเฉียงข.ป้องกันได้โดยการสร้างคันดักทราย (groin)
 ค.อาจจะทำให้เกิดสันดอนจงอย (spit)ง.ถูกทุกข้อ

43. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ หน้าหาด (beach)

 ก.มีแนวโน้มที่จะถูกกัดกร่อนในช่วงพายุและสะสมตัวในสภาพอากาศสงบข.มีแนวโน้มที่จะสะสมตัวในช่วงพายุและกัดกร่อนในสภาพอากาศสงบ
 ค.มีแนวโน้มที่จะคงที่ตลอดทั้งปีง.ถูกทุกข้อ

44. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ การเคลื่อนที่ของตะกอนทรายแบบซิกแซกไปตามแนวชายหาด

 ก.เกิดคลื่นหัวแตกหักเหแนวเฉียงข.ผิดปกติและไม่ค่อยเกิดขึ้น
 ค.เรียกว่า beach driftง.ข้อ ก. และ ค. ถูก

45. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของคลื่นน้ำ

 ก. น้ำกลางมหาสมุทรเคลื่อนที่แบบ oscillatoryข. น้ำในโซนคลื่นหัวแตก เคลื่อนที่แบบ translatory
 ค.น้ำกลางมหาสมุทรเคลื่อนที่แบบ translatoryง. น้ำในโซนคลื่นหัวแตกเคลื่อนที่ ไปทางชายหาด

46. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ กำแพงกันคลื่น (seawall)

 ก.ป้องกันโครงสร้างหลังกำแพงกันคลื่นข.เร่งกระบวนการกัดกร่อนตามแนวชายฝั่ง
 ค.ใช้งบประมาณสูงในการบำรุงรักษาง.ถูกทุกข้อ

47. ข้อใดคือ น้ำขึ้น-น้ำลง (tide) ที่เกิดน้ำขึ้นและน้ำลงวันละ 1 ครั้ง

 ก.mixedข.semi-diurnal
 ค.diurnalง.ไม่มีข้อใดถูก

48. ข้อใดคือกลไกในเบื้องต้นของการกัดกร่อนหินที่อยู่ตามแนวชายฝั่งของคลื่นจากมหาสมุทร

 ก.การครูดถูจากตะกอนที่มากับน้ำข.การละลายจากน้ำเค็ม
 ค.น้ำแรงดันสูงกระแทกตามรอยแตกง.ถูกทุกข้อ

49. ข้อใดคือผลจาก การหักเหของคลื่น (wave refraction)

 ก.พลังงานคลื่นจะรุนแรงบริเวณหัวหาด (headland)ข.พลังงานคลื่นลดทอนอย่างรวดเร็วมื่อเข้าใกล้ชายฝั่ง
 ค.พลังงานคลื่นจะรุนแรงในพื้นที่อ่าวระหว่างหัวหาดง.หัวหาดจะถูกทำให้ใหญ่ขึ้นเนื่องจากตะกอนสะสมตัว

50. ข้อใดคือภูมิลักษณ์ที่เป็นหลักฐานบ่งบอกถึงระดับน้ำทะเลในอดีต

 ก.เว้าทะเล (sea notch)ข.โขดทะเล (sea stack)
 ค.ซุ้มหินโค้ง (sea arch)ง.ถ้ำทะเล (sea cave)

เฉลยแบบฝึกหัด

1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1)

1. 2. 3. 4. 5.
6. 7. 8. 9. 10.

2) แบบฝึกหัดจับคู่ (2)

1. 2. 3. 4. 5.
6. 7. 8. 9. 10.

3) แบบฝึกหัดจับคู่ (3)

1. 2. 3. 4. 5.
6. 7. 8. 9. 10.

4) แบบฝึกหัดถูก-ผิด

1.F 2.F 3.T 4.F 5.T
6.T 7.T 8.T 9.F 10.T
11.F 12.T 13.T 14.T 15.T
16.T 17.T 18.F 19.F 20.T

5) แบบฝึกหัดปรนัย

1. 2. 3. 4. 5.
6. 7. 8. 9. 10.
11. 12. 13. 14. 15.
16. 17. 18. 19. 20.
21. 22. 23. 24. 25.
26. 27. 28. 29. 30.
31. 32. 33. 34. 35.
36. 37. 38. 39. 40.
41. 42. 43. 44. 45.
46. 47. 48. 49. 50.

4) แบบฝึกหัดอัตนัย

คำอธิบาย : ตอบคำถามให้กระชับและสมบูรณ์เกี่ยวกับวัตถุ กระบวนการหรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อกับโลกศาสตร์

1. กระแสคลื่นมหาสมุทรในระดับลึก (deep oceanic current) ที่มีผลต่อ กระแสคลื่นมหาสมุทรพื้นผิว (surface current) อย่างไร

 
 
 

2. ภูมิลักษณ์ (landform) ที่เกิดจาก กระบวนกัดกร่อน (erosion) ตามแนวชายฝั่งมีอะไรบ้าง

 
 
 

3. ภูมิลักษณ์ (landform) ที่เกิดจาก กระบวนการสะสมตัว (deposition) ตามแนวชายฝั่งมีอะไรบ้าง

 
 
 

4. อธิบายวิธีการใน การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง (coastal erosion) จากโครงสร้างทางวิศวกรรม

 
 
 

5. ยกตัวอย่าง ภูมิลักษณ์ชายฝั่ง (coastal landform) ที่อาจจะเป็นผลมาจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) และการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล

 
 
 

6. อธิบายกลไกการเกิด น้ำตาย (neap tide) และ น้ำเกิด (spring tide) พร้อมวาดภาพประกอบ

 
 
 

7. แรงโคริออริส (Coriolis force) ที่มีผลต่อ กระแสคลื่นน้ำในมหาสมุทรอย่างไร

 
 
 

8. อธิบายลักษณะของคลื่นน้ำเมื่อเข้าใกล้ชายฝั่ง พร้อมวาดภาพประกอบ

 
 
 

9. อธิบายกระบวนการเกิด กระแสคลื่นขนานฝั่ง (longshore current) และ การหอบเม็ดทรายเลื่อนออกไปเรื่อย (longshore drift)

 
 
 

10. ยกตัวอย่างสถานที่ บนโลกที่คุณคิดว่าอยากจะไปดำน้ำเพื่อดูแนวปะการัง และอธิบายว่าเหตุใดสถานที่นั้นจังมีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตของปะการัง

 
 
 

. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth

Share: