Latest Articles
10 ภูเขาไฟ ยุคใหม่ของไทย
นับตั้งแต่ดินแดนที่ปัจจุบันเราเหมาว่าเป็นไทย ถือกำเนิดโผล่พ้นน้ำขึ้นมาเป็น แผ่นเปลือกโลกทวีปย่อย (craton) อย่างน้อยๆ ก็ราวๆ 440-550 ล้านปีก่อน (อายุของ กลุ่มหินตะรุเตา ยุคแคมเบรียนและยุคออร์โดวิเชียน) จวบจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยเคยมีกิจกรรมทางภูเขาไฟมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็น 1) ภูเขาไฟที่เกิดจากการแยกตัวของแผ่นเปลือกโลก ในสมัยที่ประเทศไทยบางส่วน เคยเป็นแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร หรือ 2) ...
โบราณคดี ใต้ตอต้นตาล
เดินสำรวจแหล่งโบราณคดีมาก็หลายที่ ผู้เขียนก็เพิ่งเคยประสบ ลีลาการพบแหล่งโบราณคดีกันในแบบนี้ สืบเนื่องจากการค้นพบและนำเสนอ แหล่งที่อยู่อาศัยของกลุ่มคนงานถลุงเหล็กโบราณ ในพื้นที่บ้านเขาดินใต้ อ. บ้านกรวด จ. บุรีรัมย์ (เพิ่มเติม : พบหอพักหนุ่มสาวโรงงาน ถลุงเหล็กโบราณ ที่บุรีรัมย์) เพื่อที่จะเพิ่มตัวละครในการร้อยเรื่องราว จึงมีการวางแผนสำรวจเพิ่มเติม ในพื้นที่ข้างเคียง ซึ่งระหว่างการสุ่มสำรวจในละแวก ผู้เขียนพบต้นตาลล้ม ...
รวม 6 คำถามพบบ่อย สถานการณ์ของ แผ่นดินไหว x ประเทศไทย
ด้วยการสื่อสารที่ทำกันได้ง่ายขึ้นในปัจจุบัน เรื่องน่าสนใจไม่ว่าจะเล็กจะใหญ่ก็ส่งต่อถึงกันได้ง่ายๆ ผ่านทั้งทางสื่อหลักและสื่อโซเชียล แผ่นดินไหวและพิบัติภัยทางธรณีวิทยาก็เช่นกัน เกิดเมื่อไหร่ ไม่เกินข้ามคืน รู้กันทั่วตั้งแต่หัวบ้านยันท้ายซอย ซึ่งก็โอเคอยู่ ถ้าจะเม้าส์มอยส์กันพอแก้เหงา แต่ถ้าจะเอามากระตุกจิตกระชากใจ ให้กังวล โดยเฉพาะแผ่นดินไหวในประเทศไทย ผู้เขียนว่าเราน่าจะขาดทุน แน่นอนว่าคนไทยมีเรื่องแผ่นดินไหวให้คุยกันเป็นระยะๆ ทั้งแผ่นดินไหวใหญ่ในต่างประเทศ หรือแผ่นดินไหวขนาดปานกลางทั้งในและรอบบ้านของเรา แต่หลายครั้งที่บทสนทนาส่งท้าย ไปลงที่คำทำนายในอนาคต บ้านโน้นโดนอย่างนั้น ซักวันบ้านเราคงจะโดนอย่างนี้ ...
ศิลาแลง : วัสดุก่อสร้างยอดนิยมในอดีต (ยาวหน่อย แต่อร่อยนะ)
เปิดหัวง่ายๆ เลยครับ ศิลาแลง (laterite) เป็นหนึ่งในวัสดุยอดนิยมในอดีต ที่มักจะถูกนำมาใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเหล่าปราสาท ที่มีอยู่มากมายทั้งในไทยและกัมพูชา ปัจจุบันก็ยังมีการนำศิลาแลงมาใช้ ทั้งบดให้ละเอียดเป็นถนนลูกรัง หรือตัดเป็นก้อนๆ มาปูพื้นแต่งสวน นั่นไง !!! ศิลาแลงถึงได้สำคัญและใกล้ตัว อย่ากระนั้นเลยครับ รู้จักเขาไว้ซักหน่อยก็ดี เผื่อวันดีคืนดี มีโอกาสไปเดินเที่ยวปราสาทกับสาวๆ จะได้มีเรื่องเล่าให้โชว์พาวด์ ...
เขามีดอีโต้ – ธรณีวิทยาพาเที่ยว
ภูเขารูปมีดอีโต้ หรือที่ทางวิชาการ เรียกว่า ภูมิประเทศเควสตา (cuesta topography) คือ ภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นแนวภูเขาที่มีสันเขาแหลมคม ด้านหนึ่งของฝั่งเขามีความชันสูง ส่วนอีกด้านหนึ่งของฝั่งเขามีความชันต่ำราดลงไป โดยปกติ หากเราพบเห็นภูเขารูปมีดอีโต้ หรือลักษณะภูมิประเทศแบบเควสตา โดยส่วนใหญ่หินในแถบนี้มักจะเป็น หินตะกอน (sedimentary rock) วางตัวเป็นชั้นๆ ตามแนวของฝั่งเขาที่มีความชันสูง และชั้นหินทุกชั้นจะวางตัวเอียงเทไปทางฝั่งที่มีความชันต่ำของแนวเขา ...
พบหอพักหนุ่มสาวโรงงาน ถลุงเหล็กโบราณ ที่บุรีรัมย์
ในการเปิดเวย์สำรวจใหม่ในแต่ละพื้นที่ บ่อยครั้งที่นักโบราณคดี พบหลักฐานกิจกรรมการทำงานของมนุษย์ในอดีต ไม่ว่าจะเป็นการทำเหมืองหินก่อสร้าง (หินทราย-ศิลาแลง) เตาผลิตเครื่องปั้นดินเผา หรือ กองเนินตระกัน (ขี้แร่) ที่บ่งชี้ถึงกิจกรรมการถลุงโลหะ ซึ่งหลักฐานเหล่านี้ ล้วนเป็นตัวบ่งชี้การ (เคย) มีอยู่ของกลุ่มคน หรือชุมชน ณ สถานที่นั้นๆ อย่างไรก็ตาม ถ้าจะเก็บงานให้ละเมียด ปิดจ๊อบแบบละเอียด ...
ปราสาทเมืองเก่า เนียงเขมาเมืองไทย
สำรวจโดย : สันติ ภัยหลบลี้ และ กังวล คัชชิมา ในการเที่ยวชมปราสาทหินทั้งของไทยและกัมพูชา หนึ่งในลีลาที่คนพื้นที่หรือไกด์ทัวร์ พยายามจะสร้างสเน่ห์ให้ปราสาทแต่ละที่ให้มีความเป็นปัจเจก มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร คือการสกัดจุดเด่น และตั้งฉายาให้กับปราสาทแต่ละหลัง เช่นปราสาทในแถบนครวัด-นครธม ก็จะเน้นความยิ่งใหญ่อลังการ ปราสาทเกาะแกร์ ได้ฉายาว่า พีระมิดแห่งเอเชีย ปราสาทบันทายสรี ถึงจะเป็นประสาทขนาดเล็กแต่ก็มีการแกะสลักหินให้มีลวดลายวิจิตรงดงาม ...
แบบฝึกหัด 15 การลำดับชั้นหิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 5 โครงสร้างภายในโลก
1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา เติมในช่องว่างด้านซ้ายในแต่ละข้อที่กำหนดให้ เพื่ออธิบายความหมายของคำด้านซ้ายอย่างถูกต้องและเหมาะสม 1. ____ง. ก. เนื้อโลก (mantle) 2. ____ข. ข. แผ่นเปลือกโลกทวีป ...
แบบฝึกหัด 4 แผ่นดินไหว
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 6 ภูเขาไฟและหินอัคนี
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 14 ตะกอนและหินตะกอน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 2 แร่และหิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าชื่อแร่ด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีระดับความแข็งตาม ...
แบบฝึกหัด 16 ธรณีประวัติ
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
แบบฝึกหัด 13 ทะเลทราย
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 10 มหาสมุทรและพื้นทะเล
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายภูมิลักษ์ของพื้นมหาสมุทรทางด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 9 น้ำใต้ดิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
แบบฝึกหัด 8 น้ำผิวดิน
วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
ข้อย้อนแย้ง ธรณีวิทยา-โบราณคดี : กรณีวัดแสนตุ่ม อ. เขาสมิง จ. ตราด
วัดแสนตุ่ม หรือ วัดเขาโต๊ะโม๊ะ อ. เขาสมิง จ. ตราด คือหนึ่งในแหล่งโบราณคดี ที่ทางกรมศิลปากรได้ประกาศและขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเอาไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ในนาม เมืองเก่าแสนตุ่ม ซึ่งลักษณะโดยทั่วไปของพื้นที่ คือสภาพเนินลูกโดด ตั้งตระหง่านอยู่กลางพื้นที่ราบภายในวัด โดยความสูงของเนิน ประเมินด้วยสายตา กะได้คร่าวๆ ว่า ...
3 ขั้นตอน ตัดหินโบราณ กับหลักฐานชัดสุดๆ เท่าที่เคยเห็นมา
ตั้งต้นจาก การมีอยู่ไม่น้อย ของปราสาทหินในประเทศไทย โดยเฉพาะภาคอีสาน ทำให้หนึ่งในประเด็นทางโบราณคดีที่น่าสนใจคือ ประเด็นวัสุดก่อสร้าง ปราสาทสร้างจากหินอะไรอ่ะ ? ไปเอาหินกันมาจากไหนนะ ? แล้ว ขนหินหนักๆ มากันยังไงเนี่ย ? เหล่านี้ล้วนเป็นคำถามติดใจทุกครั้ง เวลาเราไปเที่ยวชมปราสาทหิน ซึ่งจากการบุกป่าฝ่าดงของนักโบราณคดีรุ่นใหญ่ในสมัยก่อน ปัจจุบันมีรายงานแหล่งตัดหินโบราณ กระจายอยู่ในหลายพื้นที่ เช่น ...