Monthly Archives: สิงหาคม 2023

สำรวจ

เผยสูตรลับ ฐานรากอาคารโบราณ – กรณีศึกษา (บาง) ปราสาทหิน บุรีรัมย์

ทีมสำรวจ : เกชา-สุวภา-ชลิดา-วัชราภา เจริญศิริมณี ปัจจุบันในวงการก่อสร้าง เพื่อให้ตัวอาคารมั่นคงในทางวิศวกรรม วิศวกรเลือกที่จะใช้การตอกเสาเข็ม ก่อนที่จะสร้างอาคารใดๆ อย่างไรก็ตาม ในสมัยโบราณที่เทคโนโลยีเสาเข็มยังไม่มีใช้ แต่เพื่อให้อาคารยังแข็งแรงตั้งอยู่ได้ การปรับปรุงและการสร้างความแข็งแกร่งให้กับฐานรากก่อนสร้างอาคารจึงมีความจำเป็น จากการสำรวจและประมวลถาพรวมในหลายๆ พื้นที่ พบว่าปราสาทในอารยธรรมเขมรโบราณ มักมีการปรับปรุงรากฐาน ก่อนที่จะนำหินทรายหรือศิลาแลงมาวางเป็นตัวประสาทต่อไป อย่างที่เราทราบกันว่าในปัจจุบัน ...
สำรวจ

5 เรื่องราวทางธรณีวิทยา ที่ส่งผลต่อไทย เมื่อ “อินเดีย” พุ่งชน “เอเชีย”

จากการศึกษา ธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ของประเทศไทย นักธรณีวิทยาสามารถย้อนเรื่องราวทางธรณีวิทยาไทย ไปได้ไกลถึง 400 ล้านปีก่อน โดยในยุคดีโวเนียน (Devonian period) ของ มหายุคพาลีโอโซอิก (Paleozoic Era) ช่วงนั้น 1) ด้ามขวาน ...
สำรวจ

โบราณคดี x แผ่นดินไหว – กรณีศึกษา วัดส้มสุก เชียงใหม่

โบราณสถาน วัดส้มสุก อ. แม่อาย จ. เชียงใหม่ เชื่อกันว่าเป็นเมืองเก่าสำคัญในลุ่มน้ำฝาง วัดส้มสุกโด่งดังในทางโบราณคดี เพราะในช่วงที่ขุดค้นและบูรณะ พบ จารึกโบราณ อักษรฝักขาม อยู่ในแผ่นอิฐจำนวนมากกว่า 200 ก้อน (ครองสถิติ จารึกมากที่สุดในประเทศไทย) ยืนยันถึงการเผยแพร่ ...
สำรวจ

ข้อสังเกตทางธรณีวิทยา สู่เจตนาการซ่อนแอบโบราณ เขาปลายบัด บุรีรัมย์

ภาพปก : ประติมากรรมสำริด ที่ขุดพบในพื้นที่ปราสาทเขาปลายบัด ๒ นอกเหนือจาก ปราสาทหินพนมรุ้ง (บนเขาพนมรุ้ง) และ ปราสาทเมืองต่ำ (ที่ราบตอนล่างเชิงเขา) เขาปลายบัด อ. ประโคนชัย จ. บุรีรัมย์ ซึ่งเป็นภูเขาไฟยุคใหม่ทางตอนใต้ของเขาพนมรุ้ง ถือเป็นอีกหนึ่งดินแดนแห่งศาสนสถานโบราณที่สำคัญในทางโบราณคดี ...
สำรวจ

ทำไมของโบราณต้องฝังอยู่ใต้ดิน ? แล้วทำไม นักโบราณคดีต้องขุด ?

ภาพปก : หลุมขุดค้นวัดโพธิ์ศรีใน ต. บ้านเชียง อ. หนองหาน จ. อุดรธานี (ที่มา : https://thailandtourismdirectory.go.th) บทความสั้นๆ นี้ เกิดจากความซุกซนทางความคิดของผู้เขียน อาจจะไม่ใช่ประเด็นวิจัยที่น่าสนใจมากนัก แต่หลายครั้งที่ออกสำรวจทาง ธรณีวิทยาโบราณคดี ...