สำรวจ

Explore

สำรวจ

ปากแม่น้ำโบราณ ของไทย

ในบรรดา ภูมิลักษณ์ (landform) รูปแบบต่างๆ บนพื้นผิวโลก ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta) ถือเป็นภูมิลักษณ์อันดับหนึ่งที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดต่อการเกษตรกรรม อุดมยิ่งกว่า ที่ราบน้ำท่วมถึง (floodplain) อย่างที่เราเคยรู้กัน ทั้งนี้ก็เพราะดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเป็นพื้นที่สุดท้าย ที่คอยรวบรวมอินทรีย์วัตถุที่สะสมมาตลอดทาง จากต้นน้ำสู่ปลายน้ำให้ตกสะสมในบริเวณนี้ ตัวอย่างที่เห็นชัดในแถบบ้านเรา คือ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง พื้นที่ต้นเหตุสำคัญ ที่ทำให้ทั้งกัมพูชาและเวียดนามปลูกข้าวได้ปริมาณมาก ...
สำรวจ

ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta)

แม้จะมีรูปร่างหน้าตาคล้ายกัน แต่กระบวนการสะสมตัวของตะกอนและการเกิด ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta) จะแตกต่างจาก เนินตะกอนรูปพัด (alluvial fan) ตรงที่ เนินตะกอนรูปพัดเกิดจากน้ำที่ไหลแรงในร่องเขา ลดความเร็วและแผ่ซ่านเมื่อไหลออกสู่ที่ราบ ทำให้ตะกอนตกสะสมที่ หน้าเขา (mountain font) เป็นรูปพัด ส่วนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ แม่น้ำหอบตะกอนไหลวิ่งไปชนกับคลื่นและมวลน้ำทะเล (หรือทะเลสาบ) ทำให้ตะกอนพัดพาไปต่อไม่ได้ ...
สำรวจ

ดินบรรพกาล (paleosol) : ประโยชน์ในการตีความทางธรณีวิทยา

ทุกคนรู้จัก ดิน (soil) แต่ ดินบรรพกาล (paleosol) เป็นยังไง ? เชื่อว่าน้อยคนที่จะรู้จัก ทำไมต้องรู้จัก มันมีประโยชน์ในการสำรวจทางธรณีวิทยายังไงบ้าง ว่างๆ ลองอ่านเล่นๆ กันนะครับ 1) กำเนิดดิน ในทางธรณีวิทยา วัสดุโลก (earth material) ...
สำรวจ

หมุดหมายการเดินทาง คนโบราณ (Ancient Viewshed)

คิดผ่านๆ เพลินๆ คนเดินทางสมัยโบราณ น่าจะอาศัยดูดาวหรือจับทิศลม แต่พอตั้งสติคิดดูดีๆ อ้าวเฮ้ย !!! ต้องเป็นคนแบบไหนถึงชอบเดินทางกันตอนกลางคืน ถ้าเลือกได้ ซึ่งก็เลือกได้ ไม่ว่าจะอดีตหรือปัจจุบัน คนเราก็ชอบเดินทางตอนกลางวันกันทั้งนั้น เพราะสว่างชัด วิสัยทัศเยี่ยม ซึ่งหากไม่ชินทาง คนสมัยนี้ก็คงพึ่งพา google map ในโทรศัพท์ แล้วถ้าในสมัยก่อน ...
สำรวจ

ถนนพระร่วง – ท่อปู่พระยาร่วง สุโขทัย

นอกจากความเป็นราชธานีแห่งแรกของไทย ตามที่เราเข้าใจสมัยประถมฯ อาณาจักรสุโขทัย เป็นอีกหนึ่งเมืองโบราณที่ถูกกล่าวขานกันมาตลอด ทั้งในเรื่องความเจริญก้าวหน้าด้านภาษา (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) และลีลาการบริหารจัดการน้ำในอดีต โดยในส่วนของตัวเมืองสุโขทัย กรรมวิธีกักเก็บน้ำไว้กินไว้ใช้ สำแดงไว้อย่างชัดแจ้งผ่านการสร้าง สรีดภงส์ หรือ ทำนบพระร่วง ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นที่กั้นกักน้ำ ที่ไหลลงมาจาก เขาประทักษ์ ทางตะวันตกของตัวเมือง หลังจากนั้นจึงผันน้ำผ่าน คลองเสาหอ ที่ยาวกว่า ...
สำรวจ

8 ลีลา คนโบราณ บริหารจัดการน้ำ

สันติ ภัยหลบลี้ และ ชวลิต ขาวเขียว ภาพปก : วารสารเมืองโบราณ น้ำ คือ ชีวิต ทั้งกินทั้งใช้ทั้งทำไร่ทำนา ต้องมีน้ำเข้ามาเอี่ยวเกี่ยวแทบทั้งสิ้น ในสมัยนี้การจัดการน้ำก็ยังดีหน่อย เพราะด้วยองค์ความรู้ที่มีและเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำให้คนรู้จักกักเก็บน้ำไว้ใช้ทั้ง น้ำผิวดิน (surface water) และ ...
สำรวจ

เผยสูตรลับ ฐานรากอาคารโบราณ – กรณีศึกษา (บาง) ปราสาทหิน บุรีรัมย์

ทีมสำรวจ : เกชา-สุวภา-ชลิดา-วัชราภา เจริญศิริมณี ปัจจุบันในวงการก่อสร้าง เพื่อให้ตัวอาคารมั่นคงในทางวิศวกรรม วิศวกรเลือกที่จะใช้การตอกเสาเข็ม ก่อนที่จะสร้างอาคารใดๆ อย่างไรก็ตาม ในสมัยโบราณที่เทคโนโลยีเสาเข็มยังไม่มีใช้ แต่เพื่อให้อาคารยังแข็งแรงตั้งอยู่ได้ การปรับปรุงและการสร้างความแข็งแกร่งให้กับฐานรากก่อนสร้างอาคารจึงมีความจำเป็น จากการสำรวจและประมวลถาพรวมในหลายๆ พื้นที่ พบว่าปราสาทในอารยธรรมเขมรโบราณ มักมีการปรับปรุงรากฐาน ก่อนที่จะนำหินทรายหรือศิลาแลงมาวางเป็นตัวประสาทต่อไป อย่างที่เราทราบกันว่าในปัจจุบัน วัสดุที่นิยมนำมาใช้ในการปรับพื้นหรือฐานราก คือ ...
สำรวจ

5 เรื่องราวทางธรณีวิทยา ที่ส่งผลต่อไทย เมื่อ “อินเดีย” พุ่งชน “เอเชีย”

จากการศึกษา ธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ของประเทศไทย นักธรณีวิทยาสามารถย้อนเรื่องราวทางธรณีวิทยาไทย ไปได้ไกลถึง 400 ล้านปีก่อน โดยในยุคดีโวเนียน (Devonian period) ของ มหายุคพาลีโอโซอิก (Paleozoic Era) ช่วงนั้น 1) ด้ามขวาน (ภาคเหนือ + ...
สำรวจ

โบราณคดี x แผ่นดินไหว – กรณีศึกษา วัดส้มสุก เชียงใหม่

โบราณสถาน วัดส้มสุก อ. แม่อาย จ. เชียงใหม่ เชื่อกันว่าเป็นเมืองเก่าสำคัญในลุ่มน้ำฝาง วัดส้มสุกโด่งดังในทางโบราณคดี เพราะในช่วงที่ขุดค้นและบูรณะ พบ จารึกโบราณ อักษรฝักขาม อยู่ในแผ่นอิฐจำนวนมากกว่า 200 ก้อน (ครองสถิติ จารึกมากที่สุดในประเทศไทย) ยืนยันถึงการเผยแพร่ วัฒนธรรมสุโขทัย เข้ามาในดินแดนล้านนา ...
สำรวจ

ข้อสังเกตทางธรณีวิทยา สู่เจตนาการซ่อนแอบโบราณ เขาปลายบัด บุรีรัมย์

ภาพปก : ประติมากรรมสำริด ที่ขุดพบในพื้นที่ปราสาทเขาปลายบัด ๒ นอกเหนือจาก ปราสาทหินพนมรุ้ง (บนเขาพนมรุ้ง) และ ปราสาทเมืองต่ำ (ที่ราบตอนล่างเชิงเขา) เขาปลายบัด อ. ประโคนชัย จ. บุรีรัมย์ ซึ่งเป็นภูเขาไฟยุคใหม่ทางตอนใต้ของเขาพนมรุ้ง ถือเป็นอีกหนึ่งดินแดนแห่งศาสนสถานโบราณที่สำคัญในทางโบราณคดี เพราะปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดี ว่าบนเขาปลายบัดมีปราสาทในวัฒนธรรมเขมรโบราณอยู่ ...
สำรวจ

ทำไมของโบราณต้องฝังอยู่ใต้ดิน ? แล้วทำไม นักโบราณคดีต้องขุด ?

ภาพปก : หลุมขุดค้นวัดโพธิ์ศรีใน ต. บ้านเชียง อ. หนองหาน จ. อุดรธานี (ที่มา : https://thailandtourismdirectory.go.th) บทความสั้นๆ นี้ เกิดจากความซุกซนทางความคิดของผู้เขียน อาจจะไม่ใช่ประเด็นวิจัยที่น่าสนใจมากนัก แต่หลายครั้งที่ออกสำรวจทาง ธรณีวิทยาโบราณคดี (geoarchaeology) ประเด็นหนึ่งที่ชวนผู้เขียนให้ฉงนสงสัยอยู่บ่อยครั้งก็คือ ...
สำรวจ

ทะเลแหวก – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 26

สันหลังมังกร หรือ ทะเลแหวก คือ สันทราย ชายหาด สันหลังมังกรตันหยงโป เกาะสามกลาง ต. ตำมะลัง อ. เมืองสตูล จ. สตูล https://goo.gl/maps/2kzvCAk9haVfmEzH8 ประวัติ เมื่อประมาณ 500 ล้านปีที่แล้ว ได้เกิดการระเบิดของภูเขาไฟ ...
สำรวจ

สวยัมภูลึงค์ – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 25

สวยัมภูลึงค์ ปราสาทวัดพู แขวงจำปาสัก ประเทศลาว https://goo.gl/maps/m9xMeXys6pAw6hPy6 เขาคา ต. เสาเภา อ. สิชล จ. นครศรีธรรมราช https://goo.gl/maps/LJnTRZxyJfy5DUQ77 เขาถมอรัตน์ ต. โคกสะอาด อ. ศรีเทพ จ. เพชรบูรณ์ ...
สำรวจ

แหล่งฟอสซิล – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 24

ฟอสซิล (fossil) หรือ บรรพชีวิน หรือ ซากดึกดำบรรพ์ คือ ซากและร่องรอยของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่เคยอาศัยอยู่ในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งเมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ในบางสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ซากสิ่งมีชีวิตดังกล่าวอาจไม่ย่อยสลาย แต่จะถูกทับถมและฝังตัวอยู่ในชั้นตะกอน กลายเป็นฟอสซิล ปัจจุบัน นักบรรพชีวิน (paleontologist) ใช้ฟอสซิลในการศึกษาประวัติความเป็นมาของพื้นที่ต่างๆ ซึ่งสามารถบอกได้ทั้งอายุหรือช่วงเวลาของเหตุการณ์ หรือบางครั้งอาจจะบอกถึงสภาพแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลานั้นด้วย กระบวนการเกิดฟอสซิล ...
สำรวจ

หินสามวาฬ – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 23

ภาพปก : www.fridayvacation.com หินสามวาฬ – ตกลง บึงกาฬมีวาฬกี่ตัว ? แล้วใครปั้นวาฬ ? หินสามวาฬ ภูสิงห์ บึงกาฬ ต. โคกก่อง อ. เมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬ https://goo.gl/maps/sU42QRRt9aRvmKx98 ...
สำรวจ

ชั้นหินคดโค้ง – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 22

เขาหินพับผ้า เกาะท่าไร่-เกาะนุ้ยนอก ต. ท้องเนียน อ. ขนอม จ. นครศรีธรรมราช https://goo.gl/maps/BPLSAsa7JcHqFMVh7 เหมืองหินปูน หน้าพระลาน สระบุรี วัดถ้ำศรีวิไล ต. ผึ้งรวง อ. เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรีhttps://goo.gl/maps/oP1BFqFs1w7VufEG6 ธรณีวิทยาน่าเล่า ชั้นหินคดโค้ง ...
สำรวจ

แก่ง โบก – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 21

สามพันโบก ต. เหล่างาม อ. โพธิ์ไทร จ. อุบลราชธานีhttps://goo.gl/maps/GMTvN9HuPkMvsXpo6 แก่งตะนะ ต. โขงเจียม อ. โขงเจียม จ. อุบลราชธานีhttps://goo.gl/maps/c4AdAphLcU9gzYzU9 แก่งสะพือ ต. พิบูล อ. พิบูลมังสาหาร จ. ...
สำรวจ

ชั้นหิน – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 20

ผาช่อ อุทยานแห่งชาติ แม่วาง ต. สันติสุข อ. ดอยหล่อ จ. เชียงใหม่ https://goo.gl/maps/FxgL8WJvdCjNrFir9 วัดภูทอก ต. นาแสง อ. ศรีวิไล จ. บึงกาฬ https://goo.gl/maps/DTCwT3wuvcg9fwU9A ผาสิงห์เหลียว ต. ...
สำรวจ

บึง – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 19

บึงบอระเพ็ด บึงบอระเพ็ด ต. พระนอน อ. เมืองนครสวรรค์ จ. นครสวรรค์ https://goo.gl/maps/UcT9khQicG2GDFURA อีกหนึ่งหลักฐานที่พอจะนำมารวม ประกอบการสร้างแนวการวางตัวของรอยเลื่อนแม่ปิงก็คือ รูปร่างของบึงบอระเพ็ด แหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่อันโด่งดังในจังหวัดนครสวรรค์ เพราะถ้าสังเกตุให้ดีจะพบว่าบึงบอระเพ็ดทางตอนใต้มีการวางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือตะวันออกเฉียงใต้ และสามารถยิงแนวไปตรงกับแนวเส้นตรงของแม่น้ำปิง ที่อธิบายไปก่อนหน้านี้ และจากภูมิประเทศใต้น้ำของบึงบรเพชร ที่ทางตอนเหนือที่ตื้น และค่อยๆ ลาดมาลงใต้ ...
สำรวจ

เขาชามคว่ำ ชามหงาย – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 18

 ภูเวียง พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง ต. ในเมือง อ. เวียงเก่า จ. ขอนแก่น https://goo.gl/maps/TJEMQnkUaw3uAhKx7 ภูเก้า ภูเก้า ต. โคกม่วง อ. โนนสัง จ. หนองบัวลำภู https://goo.gl/maps/6Zytgfquvwd6aHZK9 เขาวง กาฬสินธ์ ...