แผ่นดินไหว

แผ่นดินไหว

การจัดกลุ่มแผ่นดินไหว (Earthquake Clustering)

จากการศึกษาฐานข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งในระดับโลก (Aki, 1956) และระดับท้องถิ่น (Knopoff, 1964) พบว่า ฐานข้อมูลแผ่นดินไหว มักจะประกอบด้วย กลุ่มแผ่นดินไหว (earthquake cluster) ของ 1) แผ่นดินไหวนำ (foreshock) 2) แผ่นดินไหวหลัก (mainshock) และ ...
แผ่นดินไหว

แบบฝึกหัด 6 ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจนัยสำคัญของภาวะเงียบสงบและภาวะกระตุ้นแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในภูมิภาคอาเซียนจากการวิเคราะห์คะแนน RTL เนื้อหา ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (RTL Algorithm) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand) ...
แผ่นดินไหว

แบบฝึกหัด 5 การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวและนัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอนาคตในภูมิภาคอาเซียน จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย ...
แผ่นดินไหว

แบบฝึกหัด 4 ความเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจการประยุกต์ใช้ค่า b ในการศึกษาแรงเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงค่า b (Variation of b Value) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain) หมู่เกาะฟิลิปปินส์ ...
แผ่นดินไหว

แบบฝึกหัด 3 พฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวและขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา ความถี่-ขนาดแผ่นดินไหว (Frequency-Magnitude) แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด (Maximum Magnitude) คาบอบุติซ้ำการเกิดแผ่นดินไหว (Return Period) โอกาสเกิดแผ่นดินไหว (Probability of Occurrence) ในแต่ละพื้นที่ย่อยของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวมีพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวเฉพาะตัว ซึ่งสามารถประเมินได้จากฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีความสมบูรณ์และสื่อถึงพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริง โดยผลการประเมินแสดงอยู่ในรูปแบบของ ...
แผ่นดินไหว

แบบฝึกหัด 2 ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและความสมบูรณ์

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อรู้จักบันทึกแผ่นดินไหวรูปแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและแหล่งสืบค้นข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจข้อดี-ข้อจำกัดของฐานข้อมูลแผ่นดินไหว และตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุง เพื่อทราบกระบวนการปรับปรุงฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เนื้อหา บันทึกแผ่นดินไหว (Earthquake Record) การปรับเทียบมาตราขนาดแผ่นดินไหว (Magnitude Conversion) การจัดกลุ่มแผ่นดินไหว (Earthquake Clustering) แผ่นดินไหวจากกิจกรรมมนุษย์ (Man-made Earthquake) การเปลี่ยนแปลงระบบตรวจวัด ...
แผ่นดินไหว

แบบฝึกหัด 1 แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในอาเซียน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจสภาพแวดล้อมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานในภูมิภาคอาเซียน เพื่อจำแนกแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction Zone) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand) ภาคใต้ของประเทศไทย (Southern Thailand) ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 7 การประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว (Seismic Hazard Analysis)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีกำหนดค่า เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีความน่าจะเป็น เพื่อทราบสถานการณ์พิบัติภัยแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา วิธีกำหนดค่า (Deterministic Method) วิธีความน่าจะเป็น (Probabilistic Method) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทย (Seismic Hazard in Thailand) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศลาว (Seismic Hazard in ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 6 ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (Region–Time–Length Algorithm)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจนัยสำคัญของภาวะเงียบสงบและภาวะกระตุ้นแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในภูมิภาคอาเซียนจากการวิเคราะห์คะแนน RTL เนื้อหา ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (RTL Algorithm) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand) ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวและนัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอนาคตในภูมิภาคอาเซียน จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 4 ความเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic Stress)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจการประยุกต์ใช้ค่า b ในการศึกษาแรงเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงค่า b (Variation of b Value) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain) หมู่เกาะฟิลิปปินส์ ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 3 พฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหว (Earthquake Activity)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวและขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา ความถี่-ขนาดแผ่นดินไหว (Frequency-Magnitude) แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด (Maximum Magnitude) คาบอบุติซ้ำการเกิดแผ่นดินไหว (Return Period) โอกาสเกิดแผ่นดินไหว (Probability of Occurrence) ในแต่ละพื้นที่ย่อยของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวมีพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวเฉพาะตัว ซึ่งสามารถประเมินได้จากฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีความสมบูรณ์และสื่อถึงพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริง โดยผลการประเมินแสดงอยู่ในรูปแบบของ ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 2 ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและความสมบูรณ์ (Earthquake Catalogue and Completeness)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อรู้จักบันทึกแผ่นดินไหวรูปแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและแหล่งสืบค้นข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจข้อดี-ข้อจำกัดของฐานข้อมูลแผ่นดินไหว และตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุง เพื่อทราบกระบวนการปรับปรุงฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เนื้อหา บันทึกแผ่นดินไหว (Earthquake Record) การปรับเทียบมาตราขนาดแผ่นดินไหว (Magnitude Conversion) การจัดกลุ่มแผ่นดินไหว (Earthquake Clustering) แผ่นดินไหวจากกิจกรรมมนุษย์ (Man-made Earthquake) การเปลี่ยนแปลงระบบตรวจวัด ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 1 แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในอาเซียน (Earthquake Source in ASEAN)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจสภาพแวดล้อมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานในภูมิภาคอาเซียน เพื่อจำแนกแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction Zone) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand) ภาคใต้ของประเทศไทย (Southern Thailand) ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 14 มุมมองดีๆ จากแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ทุกเรื่องย่อมมีมุมดีเสมอ แม้กระทั่งในเรื่องภัยพิบัติ ขึ้นอยู่ที่เราเลือกจะมอง บทนี้อยากให้ทุกท่านได้เห็นมุมมองดีๆ ที่ยังมีให้เห็นอยู่แม้ในสถานการณ์แผ่นดินไหว เนื้อหา กุหลาบแผ่นดินไหว เกมแห่งแผ่นดินไหว 1988 ระเบียบวินัยชาวญี่ปุ่น น้ำใจ สยาม ฟุกุชิม่าฟิฟตี้ ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) กุหลาบแผ่นดินไหว 2) เกมแห่งแผ่นดินไหว ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 13 การรับมือแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้รู้จักเตรียมตัวให้พร้อม รับสถานการณ์แผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อให้รู้วิธีการเอาตัวรอดและอพยพอย่างถูกวิธีในระหว่างที่เกิดแผ่นดินไหว เพื่อให้สามารถปรับตัวกับสถานการณ์หลังจากเกิดแผ่นดินไหวได้ และสามารถทำให้สถานการณ์คลี่คลายกลับสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว เนื้อหา ก่อนเกิดแผ่นดินไหว ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว หลังเกิดแผ่นดินไหว ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) ก่อนเกิดแผ่นดินไหว ก่อนจะเดทกับแผ่นดินไหว ควรแต่งเนื้อแต่งตัวยังไงดี 2) ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว ทรงตัวกันยังไง ถ้าแผ่นดินไหวมา ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 12 ระบบเตือนภัย

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้อ่านทราบถึงระเบียบวิธีหรือกลไกการทำงานของทั้ง ระบบเตือนภัยฉุกเฉินแผ่นดินไหว และ ระบบเตือนภัยสึนามิ ที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วโลกในปัจจุบัน เพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นภาพกว้างของเครือข่ายเตือนภัยแผ่นดินไหวและสึนามิที่มีอยู่ทั่วโลก เนื้อหา ระบบเตือนภัยฉุกเฉินแผ่นดินไหว ระบบเตือนภัยสึนามิ เครือข่ายเตือนภัย ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) ระบบเตือนภัยฉุกเฉินแผ่นดินไหว ระบบเตือนภัยแผ่นดินไหวแบบฉุกเฉิน 2) ระบบเตือนภัยสึนามิ ทำความรู้จักระบบเตือนภัยสึนามิ ยามเฝ้าฝั่งที่ภาครัฐจัดเตรียมไว้ให้ ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 11 การทำนายแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้อ่านทราบถึงเทคนิคต่างๆ ของการทำนายและพยากรณ์แผ่นดินไหวที่มีอยู่ในปัจจุบัน เนื้อหา ช่องว่างแผ่นดินไหว พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์ แสงและเมฆแผ่นดินไหว การเปลี่ยนแปลงน้ำใต้ดิน สัญญาณอื่นๆ ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) ช่องว่างแผ่นดินไหว การพยากรณ์แผ่นดินไหวระยะยาว 2) พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์ 3) แสงและเมฆแผ่นดินไหว 4) การเปลี่ยนแปลงน้ำใต้ดิน ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 10 แผ่นดินไหวบรรพกาล

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การศึกษาแผ่นดินไหวบรรพกาล คือ การเสาะหาหลักฐานการเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในอดีต จากหลักฐานทางโบราณคดีและธรณีวิทยารูปแบบต่างๆ ผลจากการศึกษาช่วยเติมเต็มข้อมูลพฤติกรรมแผ่นดินไหวที่ไม่เคยมีการตรวจวัดได้จากเครื่องมือตรวจวัด ซึ่งเพิ่งเริ่มมีการตรวจวัดในช่วง 70-80 ปีที่ผ่านมา เนื้อหา แผ่นดินไหวกับโบราณคดี สืบจากชั้นตะกอน มันซ่อนอยู่ในถ้ำ ดูมันทำกับชายฝั่ง ปะการังช่วยสืบ ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) แผ่นดินไหวกับโบราณคดี 2) ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 9 ดัชนีธรณีแปรสัณฐาน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การศึกษาดัชนีธรณีแปรสัณฐาน เป็นการใช้แนวคิดทางคณิตศาสตร์เข้ามาจับ ร่วมกับการตรวจวัดภูมิประเทศ เพื่อให้สื่อหรือบ่งชี้ถึงความคมชัดของรอยเลื่อนแผ่นดินไหว ว่ามีความคมชัดมากแค่ไหนซึ่งมีนัยสำคัญถึงความดุหรือความใหม่ของการเลื่อนตัวเลื่อนดังกล่าว เนื้อหา ดัชนีความคดโค้งเชิงเขา ดัชนีรูปร่างหุบเขา ดัชนีความลาดยาวทางน้ำ ความไม่สมมาตรของแอ่งรับน้ำ ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) ดัชนีความคดโค้งเชิงเขา 2) ดัชนีรูปร่างหุบเขา 3) ดัชนีความลาดยาวทางน้ำ 4) ...