
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
- เพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวและขนาดแผ่นดินไหว
- เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหว
- เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญในภูมิภาคอาเซียน
เนื้อหา
- ความถี่-ขนาดแผ่นดินไหว (Frequency-Magnitude)
- แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด (Maximum Magnitude)
- คาบอบุติซ้ำการเกิดแผ่นดินไหว (Return Period)
- โอกาสเกิดแผ่นดินไหว (Probability of Occurrence)
ในแต่ละพื้นที่ย่อยของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวมีพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวเฉพาะตัว ซึ่งสามารถประเมินได้จากฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีความสมบูรณ์และสื่อถึงพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริง โดยผลการประเมินแสดงอยู่ในรูปแบบของ 1) แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด 2) คาบอบุติซ้ำการเกิดแผ่นดินไหว และ 3) โอกาสเกิดแผ่นดินไหว
ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ?
1) ความถี่-ขนาดแผ่นดินไหว (Frequency-Magnitude)
แผ่นดินไหวเล็กและใหญ่ เกิดเป็นสัดส่วนกัน-ถ้าเราดูออก ก็รู้จักนิสัยของเขา
2) แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด (Maximum Magnitude)
พฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวตามเขตมุดตัวของเปลือกโลกในภูมิภาคอาเซียน
3) คาบอบุติซ้ำการเกิดแผ่นดินไหว (Return Period)
นิสัยการเกิดแผ่นดินไหวของรอยเลื่อนสะกาย ประเทศพม่า
4) โอกาสเกิดแผ่นดินไหว (Probability of Occurrence)
กลุ่มรอยเลื่อนในภาคเหนือของไทย : แผ่นดินไหวในอดีตและนิสัยที่คาดเผื่อไว้ในอนาคต
กลุ่มรอยเลื่อนในภาคตะวันตกของไทย : แผ่นดินไหวในอดีตและนิสัยที่คาดเผื่อไว้ในอนาคต
แบบฝึกหัด
ความรู้เพิ่มเติม
กลุ่มรอยเลื่อนระนอง-คลองมะรุ่ย เป็นหรือตาย ? จากนิยาม “รอยเลื่อนมีพลัง”
. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth