แผ่นดินไหว

บทที่ 2 ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและความสมบูรณ์ (Earthquake Catalogue and Completeness)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

  • เพื่อรู้จักบันทึกแผ่นดินไหวรูปแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและแหล่งสืบค้นข้อมูลแผ่นดินไหว
  • เพื่อเข้าใจข้อดี-ข้อจำกัดของฐานข้อมูลแผ่นดินไหว และตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุง
  • เพื่อทราบกระบวนการปรับปรุงฐานข้อมูลแผ่นดินไหว

เนื้อหา

  • บันทึกแผ่นดินไหว (Earthquake Record)
  • การปรับเทียบมาตราขนาดแผ่นดินไหว (Magnitude Conversion)
  • การจัดกลุ่มแผ่นดินไหว (Earthquake Clustering)
  • แผ่นดินไหวจากกิจกรรมมนุษย์ (Man-made Earthquake)
  • การเปลี่ยนแปลงระบบตรวจวัด (Detection System Change)

ฐานข้อมูลแผ่นดินไหว (earthquake catalogue) คือ ข้อมูลแสดงรายละเอียดการเกิดแผ่นดินไหวในแต่ละเหตุการณ์ที่เรียบง่ายที่สุด แต่มีประสิทธิภาพอย่างมากต่อการศึกษาวิจัยพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหว อย่างไรก็ตาม ความถูกต้องแม่นยำของการศึกษาวิจัยดังกล่าว ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่สื่อถึงพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริง

ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ?

1) บันทึกแผ่นดินไหว (Earthquake Record)

บันทึกแผ่นดินไหว : ไดอารี่ที่จดเอาไว้คาดการณ์อนาคต

2) การปรับเทียบมาตราขนาดแผ่นดินไหว (Magnitude Conversion)

ขนาดแผ่นดินไหว : ความหลากหลาย และ การปรับเทียบ

3) การจัดกลุ่มแผ่นดินไหว (Earthquake Clustering)

4) แผ่นดินไหวจากกิจกรรมมนุษย์ (Man-made Earthquake

การวิเคราะห์และคัดกรองแผ่นดินไหวที่เกิดจากกิจกรรมมนุษย์

5) การเปลี่ยนแปลงระบบตรวจวัด (Detection System Change)

ผลกระทบต่อฐานข้อมูลแผ่นดินไหว จากการเปลี่ยนรูปแบบและระบบตรวจวัด

แบบฝึกหัด

ความรู้เพิ่มเติม

แผ่นดินไหววิทยาเชิงสถิติ (statistical seismology)

. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth

Share: