บทที่ 6 ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (Region–Time–Length Algorithm)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
- เพื่อเข้าใจนัยสำคัญของภาวะเงียบสงบและภาวะกระตุ้นแผ่นดินไหว
- เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในภูมิภาคอาเซียนจากการวิเคราะห์คะแนน RTL
เนื้อหา
- ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (RTL Algorithm)
- เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island)
- รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault)
- ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand)
- ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand)
ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (RTL Algorithm) เป็นอีกหนึ่งวิธีการทางสถิติที่ใช้ตรวจวัดภาวะเงียบสงบแผ่นดินไหว โดยการให้คะแนนตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 3 ตัวแปร จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้นรอบพื้นที่ศึกษาและประมวลผลออกมาในรูปแบบของคะแนน RTL (RTL score)
ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ?
1) ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (RTL Algorithm)
ภาวะเงียบสงบแผ่นดินไหว : ความเงียบที่รอวันระเบิดกับการวิเคราะห์เชิงสถิติ
2) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island)
ความเงียบงันตามเขตมุดตัวสุมาตรา-อันดามัน : ยิ่งเงียบ ยิ่งน่ากลัว
3) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault)
ความเงียบงันบนรอยเลื่อนสะกาย ประเทศพม่า ซึ่งในทางแผ่นดินไหวถือว่าเป็นสัญญาณไม่ค่อยดี
4) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand)
ภาวะเงียบสงบแผ่นดินไหวในภาคเหนือของไทย กับพื้นที่เสี่ยงเกิดแผ่นดินไหว
5) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand)
ความเงียบทางฝั่งตะวันตกของไทยจากแผ่นดินไหว : นัยสำคัญถึงพื้นที่เสี่ยง
แบบฝึกหัด
ความรู้เพิ่มเติม
. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth