ปราสาทเขาปลายบัด บุรีรัมย์ : จากกำแพงหินเนื้อแปลก สู่เหมืองหินลึกลับที่น่าค้นหา
ปลายบัด เป็นเขาลูกโดด ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขาพนมรุ้ง อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. บุรีรัมย์ ซึ่งในทางธรณีวิทยา เขาปลายบัดเป็นภูเขาไฟเก่า แต่ปัจจุบันถือว่าดับสนิทแล้ว (ไม่มีแมกมาอยู่ใต้เขาแล้ว) ในทางโบราณคดี บนพื้นที่เขาปลายบัด มีโบราณสถาณสมัยอาณาจักรแขมร์สำคัญ 2 แห่ง ได้แก่ ปราสาทเขาปลายบัด ๑ และ ...
4 รอยเลื่อน แห่งลุ่มน้ำโขง ที่ไทยควรเฝ้าระวัง
ภาพปก : https://pantip.com/topic/36696666 ปัจุบัน ผลจากการที่แผ่นเปลือกโลกอินโด-ออสเตรเลีย กำลังพุ่งชนและมุดเข้าไปใต้แผ่นยูเรเซีย นอกจากขอบการชนกันอย่าง เขตมุดตัวของเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman subduction zone) แรงส่งจากการบดขยี้กันของแผ่นทั้งสอง ยังทำให้ภายในแผ่นเปลือกโลกเกิดรอยแตกร้าวมากมาย อย่างที่เราเรียกกันติดปากว่า รอยเลื่อน (fault) ซึ่งทั้งเขตมุดตัวและรอยเลื่อน ถือเป็นแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญและเป็นพื้นที่ภัยพิบัติ และเนื่องจากการบดอัดกันของอินเดีย-ยูเรเซีย ส่วนใหญ่เน้นลงแรงกันทางตอนเหนือของทวีปเอเชีย ...
ถ้ำ และ ภูมิประเทศแบบคาสต์
การเกิดถ้ำ ถ้ำ (cave) หรือ ถ้ำหินปูน (limestone cave) เกิดจากการกัดกร่อนของ น้ำใต้ดิน (groundwater) ในขณะที่หินปูนอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่น้ำใต้ดินจะมีคุณสมบัติเป็นกรดเจือจาง เนื่องจากฝนชะล้าง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากอากาศกลายเป็นกรดคาร์บอนิก หรือ ฝนกรด (acid rain) ...
คอยดูนะ !!! อีกหน่อย แผ่นเปลือกโลกอินเดีย-ออสเตรเลีย จะแยก เป็นแผ่นใครแผ่นมัน
จากทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน นักธรณีวิทยาพบว่าโลกประกอบด้วย แผ่นเปลือกโลก (tecotnic plate) ทั้งสิ้น 14 แผ่น ดังนี้ 1) แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic plate) จำนวน 7 แผ่น ได้แก่ แผ่นแปซิฟิก (Pacific Plate) ...
สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) : คลื่นความร้อน – โพลาร์ วอร์เท็กซ์
สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) คือ ปรากฏการณ์ทาง สภาพอากาศ (weather) ในช่วงเวลาสั้นๆ (วัน-สัปดาห์) ที่ทำให้พื้นที่ใดๆ บนโลก มีสภาพอากาศรุนแรงในมิติของอุณหภูมิ ซึ่งผิดเพี้ยนไปจากสภาพเดิมๆ หรืออุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นที่ โดยแบ่งย่อยได้ 2 รูปแบบ คือ 1) สภาพอากาศร้อนสุดขั้ว ...
สนามแม่เหล็กโลก และการใช้ประโยชน์
0) กำเนิดสนามแม่เหล็กโลก จากการศึกษาโครงสร้างภายในโลก นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า แก่นโลกชั้นนอก (outer core) มีสถานะเป็นของเหลว และมีธาตุเหล็กซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เป็นองค์ประกอบสำคัญของแก่นโลก และเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้ของเหลวในแก่นโลกชั้นนอกไหลเวียน (Jacobson, 1975) และสร้าง สนามแม่เหล็ก (Earth’s magnetic field) ตามหลักการพื้นฐานที่นำเสนอโดยไมเคิล ...
เกาะบาเรน : ภูเขาไฟที่หลอนคนไทยให้ผวา สึนามิ
สึนามิเกิดได้จากหลายสาเหตุ นอกจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ที่เป็นสาเหตุหลักของสึนามิ ดินถล่มหรือ ภูเขาไฟ ใต้ทะเลก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สร้างสึนามิได้ หลังปี พ.ศ. 2547 คนไทยรู้ดีว่า ห่างออกไปนอกชายฝั่งอันดามันของไทย มี เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sunatra-Andanan Subduction Zone) ทอดตัวอยู่ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดสึนามิสำคัญของบ้านเรา ...
ตามรอยหนุ่ม-สาว อังกอร์ เลาะบ้านมีไฟ
ในช่วงที่อาณาจักร อังกอร์ (พุทธศตวรรษที่ 14-18) เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด นอกจากปราสาทนครวัด-นครธม หรือ เมืองพระนคร ยังมีการก่อสร้างปราสาทสำคัญๆ อีกมากมายกระจายตัวอยู่โดยรอบของประเทศกัมพูชาปัจจุบัน รวมทั้งภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และเพื่อให้การเดินทางไปมาหาสู่กันระหว่างเมืองหลักและเมืองรองต่างๆ กษัตริย์หรือผู้นำอาณาจักร จึงได้มีแนวคิดที่จะสร้างเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างเมือง ซึ่งจากการสำรวจทางโบราณคดี พบว่าปัจจุบันมีเส้นทางสายหลักอย่างน้อย 5 เส้นทางได้แก่ เส้นทางที่วิ่งไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ จากเมืองพระนครสู่ ...
แนวชายฝั่ง ทวารวดี : มองมุมธรณีวิทยา
ภาพจากปก : ตราประทับดินเผาลายนูนต่ำรูปเรือใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร อายุราวพุทธศตวรรษที่ 11-13 พบที่เมืองนครปฐมโบราณและพื้นที่ใกล้เคียง แสดงถึงความเจริญก้าวหน้าในการเดินเรือและการค้าขายของเมืองนครปฐมโบราณสมัย ทวารวดี [ที่มา : มิวเซียมสยาม – Museum Siam] ทวาราวดีเบื้องต้น ทวารวดี (Dvaravati) ...
รู้จัก “หิน ดำตับเป็ด” เห็นปุ๊บ-แก่ปั๊บ
หากอ่านแค่ชื่อบทความ หลายท่านคงจะตงิดอยู่ในใจว่า เรียนมาตั้งแต่เด็กยันโต คุณครูก็สอนแค่ หิน (rock) 3 ชนิด 1) หินอัคนี (igneous rock) 2) หินตะกอน (sedimentary rock) และ 3) หินแปร (metarmorphic ...
พายุ หมุนเขตร้อน
เรียบเรียง : ศิริลักษณ์ หล่อชื่นวงศ์ และ สันติ ภัยหลบลี้ พายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) คือ พายุ ที่ก่อตัวในมหาสมุทรเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน (ละติจูด 30oN – 30oS) ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอุณหภูมิผิวน้ำทะเลสูงกว่า 26.5 oC ...
เมฆ . หมอก . น้ำค้าง
เมฆ เมฆ (clouds) คือ กลุ่มละอองน้ำ (water droplet) ที่จับตัวกับแกน หรือ นิวเคลียสควบแน่น (condensation nuclei) หลากหลายชนิด เช่น ฝุ่นควัน ละอองเกษร ละอองเกลือทะเล หรือแม้กระทั่งอยุภาคมลพิษต่างๆ ซึ่งเมฆจะเกิดในสภาวะเมื่ออากาศอิ่มตัว (มีความชื้นสัมพัทธ์ ...
ชนิดของ ลม
ลม (Wind) คือ การเคลื่อนท่ีของกระแสอากาศแนวราบขนานกับพื้นผิวโลก สืบเนื่องจากความสามารถในการดูดซับรังสีจากดวงอาทิตย์ของแต่ละพื้นที่ไม่เท่ากัน ทำให้อากาศที่อยู่เหนือพื้นที่ดังกล่าวมีอุณหภูมิต่างกัน อากาศเกิดการหด-ขยายแตกต่างกัน อากาศร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ทำให้อากาศเย็นในบริเวณข้างเคียงเข้าไปแทนที่ ทำให้ความกดอากาศต่างกันในแต่ละพื้นที่ เกิดเป็น ความกดอากาศสูง (H) และ หย่อมความกดอากาศต่ำ (L) พื้นที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ-สูง จะมีความกดอากาศสูง-ต่ำ ดังนั้น ความแตกต่างของอุณหภูมิและความกดอากาศของพื้นที่สองแห่ง ...
แผ่นดินไทยมาจากไหน ? : นิทาน . ธรณีแปรสัณฐาน . ประเทศไทย
เชื่อว่าผู้อ่านคงเคยได้รับชมสารคดีเกี่ยวกับการเดินทางของเผ่าพันธุ์มนุษย์ การอพยพของสัตว์เพื่อหนีหนาว หรือแม้แต่การเดินทางของเม็ดเลือดจากการ์ตูน “นิทานชีวิต” ที่เราคลั่งไคล้กันตอนเด็กๆ คราวนี้ผู้เขียนอยากให้ลองเปลี่ยนบรรยากาศ มาดูการเดินทางของผืนแผ่นดิน (ธรณีแปรสัณฐาน) กันบ้าง ผู้เขียนผู้เขียนตั้งชื่อนิทานเรื่องนี้ว่า “นิทานขวานทอง” ซึ่งอ้างอิงหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่เคยมีการศึกษาวิจัยเอาไว้ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น Bunopas (1985) Charusiri และคณะ (2002) และ Yan ...
จัดหมวดหมู่คำศัพท์ : ธรณีภาค เปลือกโลก ฐานธรณีภาค เนื้อโลก มัชฌิมาภาค แก่นโลก ฯลฯ
เชื่อว่าหลายๆ คนที่เคยเรียนเรื่อง โครงสร้างภายในโลก (Earth’s Interior) ผ่านมา คงจะมีคำศัพท์หรือตัวละครอยู่ในหัวติดมาบ้างพอสมควร ไม่ว่าจะเป็น เปลือกโลก เนื้อโลก แมนเทิล ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมาภาค เปลือกโลกชั้นนอก เปลือกโลกชั้นใน หรือแม่กระทั่ง เปลือกโลกเฉยๆ ปัญหาสาธารณะที่ทุกคนจะมีร่วมกันของคนที่ผ่านหลักสูตรนี้มาก็คือ สรุปแล้วคำพวกนี้มันจัดหมวดหมู่กันอยู่แบบไหน ...
ตะพักทะเล : พยานปากเอก จับแผ่นดินไหวครั้งใหญ่
เกริ่นกันก่อน ตะพักแม่น้ำ เกริ่นก่อนจะเข้าเรื่อง แผ่นดินไหว สืบเนื่องจากบทความ : ชนิดและภูมิลักษณ์ของธารน้ำ ผลจากการกวัดแกว่งของ ธารน้ำโค้งตวัด (meandering stream) หินแข็งที่เคยอยู่ริมธารน้ำจะถูกกัดกร่อนและเกิดการทับถมตะกอนซ้ำแล้วซ้ำเล่าไปทั่วทุกพื้นที่ที่ธารน้ำเคยตวัดไปถึง ทำให้เกิดภูมิประเทศเป็นที่ราบครอบคลุมพื้นที่กว้างขนาบไปตามธารน้ำที่เรียกกันติดปากว่า ที่ราบน้ำท่วมถึง (flood plain) ซึ่งหากมองในภาพตัดขวางของร่องน้ำ จะพบว่าร่องน้ำโค้งตวัดนี้ จะมีความกว้างโดดเด่นกว่าความลึก หรือมีรูปร่างคล้ายกับตัว ...
ภัยพิบัติน้ำท่วม และการบรรเทา
น้ำท่วม (flood) หมายถึง ภัยพิบัติที่เกิดจากน้ำพื้นผิวมีปริมาณเกินกว่าทีร่องน้ำจะรองรับได้ ทำให้น้ำเอ่อล้นออกจากร่องน้ำ สร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ โดยภัยพิบัติน้ำท่วมนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และส่งผลต่อแตกต่างกัน ได้แก่ 1) น้ำท่วมจาก พายุฝนฟ้าคะนอง (thunder storm) ทำให้เกิดน้ำหลากจากต้นน้ำลงมาอย่างรวดเร็ว หรือเรียกว่า น้ำท่วมฉับพลัน (flash flood) แต่จะท่วมเพียง ...
น้ำหนุน กรุงเทพ ฯ เกิดยังไง ?
นอกจากมวลน้ำทางตอนเหนือที่มีโอกาสไหลบ่าและท่วมพื้นที่ราบลุ่มตอนล่างของภาคกลาง ประเทศไทย กรุงเทพ ฯ และจังหวัดต่างๆ ทางตอนล่างที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านก็มีโอกาสได้รับภัยพิบัติทางน้ำ เพิ่มอีกหนึ่งรูปแบบ ซึ่งก็คือ น้ำล้นตลิ่ง หรือที่ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า น้ำหนุน ซึ่งมักจะเกิดในช่วง 2 เดือนสุดท้าย ปลายปี คือ พฤศจิกายน และธันวาคม และด้วยความที่สังคมออนไลน์ทุกวันนี้ค่อนข้างจะรวดเร็ว ทำให้เหตุการณ์น้ำหนุนล่าสุดในปี ...
ฝูงแผ่นดินไหวจิ๋ว ภาคเหนือของไทย : ปุจฉา-วิสัชนา
แผ่นดินไหว – วิเคราะห์โดย : เชาว์วรรธน์ สิงห์ทอง และ สันติ ภัยหลบลี้ ในช่วง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2560 เกิด กลุ่มแผ่นดินไหวขนาด 1.0-3.0 ...
เส้นทางโบราณ ขึ้นเขาพนมรุ้ง
พนมรุ้ง – วิเคราะห์และเรียบเรียง : สุวภา ศรีสัตยเสถียร, เกชา เจริญศิริมณี และ สันติ ภัยหลบลี้ นอกเหนือจากปราสาทตาควาย ปราสาทพิมาย ปราสาทเมืองต่ำ และปราสาทเล็กๆ น้อยๆ อีกว่าหลักร้อย ในแถบภาคอีสานตอนล่าง ปราสาทพนมรุ้ง ถือเป็นอีกหนึ่งในแลนด์มาร์คทางศาสนาที่สำคัญของ ...