Tag: ภัยพิบัติ

สำรวจเรียนรู้แผ่นดินไหว

รวม 6 คำถามพบบ่อย สถานการณ์ของ แผ่นดินไหว x ประเทศไทย

ด้วยการสื่อสารที่ทำกันได้ง่ายขึ้นในปัจจุบัน เรื่องน่าสนใจไม่ว่าจะเล็กจะใหญ่ก็ส่งต่อถึงกันได้ง่ายๆ ผ่านทั้งทางสื่อหลักและสื่อโซเชียล แผ่นดินไหวและพิบัติภัยทางธรณีวิทยาก็เช่นกัน เกิดเมื่อไหร่ ไม่เกินข้ามคืน รู้กันทั่วตั้งแต่หัวบ้านยันท้ายซอย ซึ่งก็โอเคอยู่ ถ้าจะเม้าส์มอยส์กันพอแก้เหงา แต่ถ้าจะเอามากระตุกจิตกระชากใจ ให้กังวล โดยเฉพาะแผ่นดินไหวในประเทศไทย ผู้เขียนว่าเราน่าจะขาดทุน แน่นอนว่าคนไทยมีเรื่องแผ่นดินไหวให้คุยกันเป็นระยะๆ ทั้งแผ่นดินไหวใหญ่ในต่างประเทศ หรือแผ่นดินไหวขนาดปานกลางทั้งในและรอบบ้านของเรา แต่หลายครั้งที่บทสนทนาส่งท้าย ไปลงที่คำทำนายในอนาคต ...
สำรวจ

ดินบรรพกาล (paleosol) : ประโยชน์ในการตีความทางธรณีวิทยา

ทุกคนรู้จัก ดิน (soil) แต่ ดินบรรพกาล (paleosol) เป็นยังไง ? เชื่อว่าน้อยคนที่จะรู้จัก ทำไมต้องรู้จัก มันมีประโยชน์ในการสำรวจทางธรณีวิทยายังไงบ้าง ว่างๆ ลองอ่านเล่นๆ กันนะครับ 1) กำเนิดดิน ในทางธรณีวิทยา วัสดุโลก ...
สำรวจ

โบราณคดี x แผ่นดินไหว – กรณีศึกษา วัดส้มสุก เชียงใหม่

โบราณสถาน วัดส้มสุก อ. แม่อาย จ. เชียงใหม่ เชื่อกันว่าเป็นเมืองเก่าสำคัญในลุ่มน้ำฝาง วัดส้มสุกโด่งดังในทางโบราณคดี เพราะในช่วงที่ขุดค้นและบูรณะ พบ จารึกโบราณ อักษรฝักขาม อยู่ในแผ่นอิฐจำนวนมากกว่า 200 ก้อน (ครองสถิติ จารึกมากที่สุดในประเทศไทย) ยืนยันถึงการเผยแพร่ ...
เรียนรู้

พายุฝนฟ้าคะนอง (thunderstorm)

พายุ (storm) คือ ลมที่มีการเคลื่อนที่อย่างรุนแรง ซึ่งเกิดจากความแตกต่างอย่างมากของความกดอากาศระหว่าง 2 พื้นที่ (H หรือ L) โดยความรุนแรงของพายุตรวจวัดได้หลายรูปแบบ เช่น 1) เส้นผ่านศูนย์กลางของพายุ 2) ความเร็วที่ศูนย์กลาง 3) ความเร็วและทิศทางของการเคลื่อนตัว ...
สำรวจ

แถบแผ่นดินไหว (seismic belt) กับ 10 แผ่นดินไหว ใหญ่ที่สุดตลอดกาล

แถบแผ่นดินไหว (seismic belt) ในบรรดาแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวที่มีอยู่บนโลก นักธรณีวิทยาแบ่งย่อย สภาพแวดล้อมทางธรณีแปรสัณฐานที่สัมพันธ์กับการเกิดแผ่นดินไหว (seismotectonic setting) เอาไว้ 3 สภาพแวดล้อม คือ 1) บริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งได้แก่ ขอบการแยกออกจากกัน (divergent) ขอบการเคลื่อนที่ผ่านกัน ...
สำรวจ

13 เขตกำเนิดแผ่นดินไหว ที่ส่งผลต่อไทย

เขตกำเนิดแผ่นดินไหว (Seismic Source Zone) หมายถึง พื้นที่ที่มี พฤติกรรมหรือกิจกรรมทางธรณีแปรสัณฐาน (tectonic activity) เหมือนๆ กัน มีนิสัยการเกิดแผ่นดินไหวทั้งเรื่องขนาดและความถี่คล้ายๆ กัน สำหรับประเทศไทย นักแผ่นดินไหววิทยาท่านแรกที่แบ่งเขตกำเนิดแผ่นดินไหวที่อาจส่งผลกระทบต่อประเทศไทยเอาไว้ คือ อาจารย์ปริญญา นุตาลัย ...
เรียนรู้

นิทาน x ระบบเตือนภัยสึนามิ

หลังจากเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิครั้งใหญ่ ทางฝั่งอันดามันของไทย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 หลายประเทศรอบมหาสมุทรอินเดียรวมทั้งประเทศไทย ตัดสินใจติดตั้ง ระบบเตือนภัยสึนามิ (Tsunami Warning System, TWS) อย่างที่ฝรั่งเค้ามีกันทางฟากฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก โดยนอกเหนือจากกลไกการทำงานที่สลับซับซ้อนในทางเทคนิค หน้าตาระบบเตือนภัยที่ประชาชนทั่วไปพอจะคุ้นและเคยเห็นคือ ทุนลอยน้ำ ...
สำรวจ

ขุนสมุทรจีน : ภาพจำทะเลกินบก

ภาพปก : กิติคุณ วิวัฒนธนกิจ วัดขุนสมุทรจีน หรือ วัดขุนสมุทราวาส ตั้งอยู่ที่ ต. แหลมฟ้าผ่า อ. พระสมุทรเจดีย์ จ. สมุทรปราการ ซึ่งตามประวัติ วัดสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2510 ...
สำรวจ

ทำไม ญี่ปุ่น ถึงอุดมไปด้วย แผ่นดินไหว

หากเรามองแผ่นเปลือกโลกเป็นเหมือนจิ๊กซอว์ที่อยู่ชิดติดกัน แผ่นดินญี่ปุ่น ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวยาวคร่อมอยู่บนจิ๊กซอว์ชื่อแปลกๆ 3 แผ่น คือ 1) แผ่นเปลือกโลกโอค็อตสค์ (Okhotsk Plate) ทางตอนเหนือ 2) แผ่นเปลือกโลกทะเลฟิลิปปินส์ (Philippine Sea Plate) ทางตอนใต้ ...
สำรวจ

4 รอยเลื่อน แห่งลุ่มน้ำโขง ที่ไทยควรเฝ้าระวัง

ภาพปก : https://pantip.com/topic/36696666 ปัจุบัน ผลจากการที่แผ่นเปลือกโลกอินโด-ออสเตรเลีย กำลังพุ่งชนและมุดเข้าไปใต้แผ่นยูเรเซีย นอกจากขอบการชนกันอย่าง เขตมุดตัวของเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman subduction zone) แรงส่งจากการบดขยี้กันของแผ่นทั้งสอง ยังทำให้ภายในแผ่นเปลือกโลกเกิดรอยแตกร้าวมากมาย อย่างที่เราเรียกกันติดปากว่า รอยเลื่อน (fault) ซึ่งทั้งเขตมุดตัวและรอยเลื่อน ถือเป็นแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญและเป็นพื้นที่ภัยพิบัติ ...
เรียนรู้

สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) : คลื่นความร้อน – โพลาร์ วอร์เท็กซ์

สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) คือ ปรากฏการณ์ทาง สภาพอากาศ (weather) ในช่วงเวลาสั้นๆ (วัน-สัปดาห์) ที่ทำให้พื้นที่ใดๆ บนโลก มีสภาพอากาศรุนแรงในมิติของอุณหภูมิ ซึ่งผิดเพี้ยนไปจากสภาพเดิมๆ หรืออุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นที่ โดยแบ่งย่อยได้ 2 รูปแบบ คือ ...
สำรวจ

เกาะบาเรน : ภูเขาไฟที่หลอนคนไทยให้ผวา สึนามิ

สึนามิเกิดได้จากหลายสาเหตุ นอกจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ที่เป็นสาเหตุหลักของสึนามิ ดินถล่มหรือ ภูเขาไฟ ใต้ทะเลก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สร้างสึนามิได้ หลังปี พ.ศ. 2547 คนไทยรู้ดีว่า ห่างออกไปนอกชายฝั่งอันดามันของไทย มี เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sunatra-Andanan Subduction Zone) ...
เรียนรู้

พายุ หมุนเขตร้อน

เรียบเรียง : ศิริลักษณ์ หล่อชื่นวงศ์ และ สันติ ภัยหลบลี้ พายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) คือ พายุ ที่ก่อตัวในมหาสมุทรเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน (ละติจูด 30oN – 30oS) ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอุณหภูมิผิวน้ำทะเลสูงกว่า ...
สำรวจ

ตะพักทะเล : พยานปากเอก จับแผ่นดินไหวครั้งใหญ่

เกริ่นกันก่อน ตะพักแม่น้ำ เกริ่นก่อนจะเข้าเรื่อง แผ่นดินไหว สืบเนื่องจากบทความ : ชนิดและภูมิลักษณ์ของธารน้ำ ผลจากการกวัดแกว่งของ ธารน้ำโค้งตวัด (meandering stream) หินแข็งที่เคยอยู่ริมธารน้ำจะถูกกัดกร่อนและเกิดการทับถมตะกอนซ้ำแล้วซ้ำเล่าไปทั่วทุกพื้นที่ที่ธารน้ำเคยตวัดไปถึง ทำให้เกิดภูมิประเทศเป็นที่ราบครอบคลุมพื้นที่กว้างขนาบไปตามธารน้ำที่เรียกกันติดปากว่า ที่ราบน้ำท่วมถึง (flood plain) ซึ่งหากมองในภาพตัดขวางของร่องน้ำ จะพบว่าร่องน้ำโค้งตวัดนี้ ...
เรียนรู้

ภัยพิบัติน้ำท่วม และการบรรเทา

น้ำท่วม (flood) หมายถึง ภัยพิบัติที่เกิดจากน้ำพื้นผิวมีปริมาณเกินกว่าทีร่องน้ำจะรองรับได้ ทำให้น้ำเอ่อล้นออกจากร่องน้ำ สร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ โดยภัยพิบัติน้ำท่วมนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และส่งผลต่อแตกต่างกัน ได้แก่ 1) น้ำท่วมจาก พายุฝนฟ้าคะนอง (thunder storm) ทำให้เกิดน้ำหลากจากต้นน้ำลงมาอย่างรวดเร็ว หรือเรียกว่า น้ำท่วมฉับพลัน (flash ...
เรียนรู้

น้ำหนุน กรุงเทพ ฯ เกิดยังไง ?

นอกจากมวลน้ำทางตอนเหนือที่มีโอกาสไหลบ่าและท่วมพื้นที่ราบลุ่มตอนล่างของภาคกลาง ประเทศไทย กรุงเทพ ฯ และจังหวัดต่างๆ ทางตอนล่างที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านก็มีโอกาสได้รับภัยพิบัติทางน้ำ เพิ่มอีกหนึ่งรูปแบบ ซึ่งก็คือ น้ำล้นตลิ่ง หรือที่ชาวบ้านทั่วไปเรียกว่า น้ำหนุน ซึ่งมักจะเกิดในช่วง 2 เดือนสุดท้าย ปลายปี คือ พฤศจิกายน และธันวาคม ...
เรียนรู้

อุลกมณี (tektite)

อุลกมณี (tektite) ถ้าจะให้แปลเป็นไทย คนไทยเคยเรียกเอาไว้และเรียกได้หลายชื่อ เช่น อุลกมณี (นิยมเรียกที่สุด) อุกกามณี หยดน้ำฟ้า แก้วข้าว สะเก็ดดาว คดปลวก พลอยจันทรคราส หรือจะเรียกทับศัพท์แบบฝรั่งไปเลยก็ได้ว่า เทคไทต์ โดยหน้าตาอุลกมณีหรือเทคไทต์ทั่วๆ ไป ก็จะมีลักษณะเป็น ...
เรียนรู้

การพยากรณ์แผ่นดินไหวระยะยาว

ก็เพราะโดนมาเยอะ เจ็บมาเยอะ มนุษย์เลยตระหนักได้ว่าถ้าไม่สนใจนิสัย แผ่นดินไหว นับวันก็มีแต่จะเจ็บตัวฟรี ก่อนที่สถานการณ์จะย่ำแย่ไปกว่านี้ นักแผ่นดินไหวจึงพยายามศึกษาลักษณะเฉพาะต่างๆ ของการเกิดแผ่นดินไหว เพื่อที่จะคาดเดาว่าคุณพี่จะมาอีกเมื่อไหร่ หวยจะออกตรงไหน แต่ปัญหาใหญ่คือแผ่นดินไหวมันไม่มีตัวตน มองไม่เห็นเหมือนเมฆฝนที่ต้องตั้งเค้าก่อนแล้วค่อยปะทะ ดังนั้น การพยากรณ์แผ่นดินไหว (earthquake forecasting) หรือ การทำนายแผ่นดินไหว ...
เรียนรู้

ซากโบราณสถาน กับการแปลความ แผ่นดินไหว

หนึ่งในหลายๆ ลีลาของการศึกษา สืบหาหลักฐานการเกิด แผ่นดินไหว ครั้งใหญ่ คือ การศึกษาแผ่นดินไหวจากซากโบราณสถานในแหล่งโบราณคดี (archaeoseismology) (Evans, 1928; Agamennone, 1935) ซึ่งเป็นการศึกษาข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง และช่วยเต็มเต็มช่องว่างระหว่างข้อมูล บันทึกทางประวัติศาสตร์ (historical record) และข้อมูลจาก ...
เรียนรู้

รู้จัก “คลื่นเซซ” ลูกแท้ๆ ของ แผ่นดินไหว

ในบรรดาปรากฏการณ์มวลน้ำยกพลขึ้นฝั่ง แล้วกระทบความรู้สึกหรือสร้างความเสียหายให้กับสิ่งที่หวงแหนของมนุษย์ ไม่ได้มีเฉพาะคลื่นน้ำที่เกิดจาก แผ่นดินไหว รวมความดูแล้วน่าจะมีอยู่ประมาณ 4 รูปแบบ ได้แก่ สมมุติว่าคุยกันแบบพ่อๆ ลูกๆ เวลาเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ขึ้นมา หลายคนก็คงคิดว่าสึนามิเกิดจากแผ่นดินไหวนั้นๆ แผ่นดินไหวเป็นพ่อ ส่วนสึนามิก็เป็นลูก ที่เกิดจากแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว แต่เปล่าเลย !!! ความจริงทั้งแผ่นดินไหวและสึนามิ ...