Daily Archives: 21 มีนาคม 2019

แผ่นดินไหว

บทที่ 7 การประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว (Seismic Hazard Analysis)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีกำหนดค่า เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีความน่าจะเป็น เพื่อทราบสถานการณ์พิบัติภัยแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา วิธีกำหนดค่า (Deterministic Method) วิธีความน่าจะเป็น (Probabilistic Method) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทย (Seismic Hazard in Thailand) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศลาว (Seismic ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 6 ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (Region–Time–Length Algorithm)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจนัยสำคัญของภาวะเงียบสงบและภาวะกระตุ้นแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในภูมิภาคอาเซียนจากการวิเคราะห์คะแนน RTL เนื้อหา ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (RTL Algorithm) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวและนัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอนาคตในภูมิภาคอาเซียน จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 4 ความเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic Stress)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจการประยุกต์ใช้ค่า b ในการศึกษาแรงเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงค่า b (Variation of b Value) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 3 พฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหว (Earthquake Activity)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวและขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา ความถี่-ขนาดแผ่นดินไหว (Frequency-Magnitude) แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด (Maximum Magnitude) คาบอบุติซ้ำการเกิดแผ่นดินไหว (Return Period) โอกาสเกิดแผ่นดินไหว (Probability of Occurrence) ในแต่ละพื้นที่ย่อยของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวมีพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวเฉพาะตัว ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 2 ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและความสมบูรณ์ (Earthquake Catalogue and Completeness)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อรู้จักบันทึกแผ่นดินไหวรูปแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและแหล่งสืบค้นข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจข้อดี-ข้อจำกัดของฐานข้อมูลแผ่นดินไหว และตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุง เพื่อทราบกระบวนการปรับปรุงฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เนื้อหา บันทึกแผ่นดินไหว (Earthquake Record) การปรับเทียบมาตราขนาดแผ่นดินไหว (Magnitude Conversion) การจัดกลุ่มแผ่นดินไหว (Earthquake Clustering) แผ่นดินไหวจากกิจกรรมมนุษย์ (Man-made ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 1 แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในอาเซียน (Earthquake Source in ASEAN)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจสภาพแวดล้อมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานในภูมิภาคอาเซียน เพื่อจำแนกแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction Zone) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand) ภาคใต้ของประเทศไทย ...