บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
- เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวและนัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว
- เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอนาคตในภูมิภาคอาเซียน จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว
เนื้อหา
- การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change)
- เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island)
- แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain)
- รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault)
- ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand)
- ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand)
ในภาวะปกติ แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวใดๆ จะมีอัตราการเกิดแผ่นดินไหวโดยรวมคงที่ อย่างไรก็ตามจากการทดสอบทั้งในห้องปฏิบัติการและพื้นที่จริงพบว่า อัตราการเกิดแผ่นดินไหวจะลดลงก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ เรียกว่า ภาวะเงียบสงบแผ่นดินไหว (seismic quiescence) ดังนั้นการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวจึงสามารถประยุกต์ใช้เป็นสัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้
ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ?
1) การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change)
จับสัญญาณเตือนแผ่นดินไหวใหญ่ จากการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว
2) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island)
การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวตามเขตมุดตัวสุมาตรา-อันดามัน : นัยสำคัญถึงแผ่นดินไหวใหญ่ในอนาคต
3) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain)
การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวตามแนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย : นัยสำคัญถึงพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวในอนาคต
4) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault)
อัตราการเกิดแผ่นดินไหวในพม่าเปลี่ยนไป ซึ่งค่อนข้างจะไม่ใช่เรื่องดี
5) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand)
การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวในภาคเหนือของไทย : นัยสำคัญถึงพื้นที่เสี่ยง
6) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand)
การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหวในภาคตะวันตกของประเทศไทย : นัยสำคัญถึงแผ่นดินไหวในอนาคต
แบบฝึกหัด
ความรู้เพิ่มเติม
. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth