แผ่นดินไหว

บทที่ 7 การประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว (Seismic Hazard Analysis)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

  • เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีกำหนดค่า
  • เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีความน่าจะเป็น
  • เพื่อทราบสถานการณ์พิบัติภัยแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน

เนื้อหา

  • วิธีกำหนดค่า (Deterministic Method)
  • วิธีความน่าจะเป็น (Probabilistic Method)
  • ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทย (Seismic Hazard in Thailand)
  • ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศลาว (Seismic Hazard in Laos)
  • ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศพม่า (Seismic Hazard in Myanmar)

การประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว (seismic hazard analysis) คือ การประเมินระดับแรงสั่นสะเทือนของพื้นดินในแต่ละพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ในอนาคตในรูปแบบของอัตราเร่งสูงที่สุดบนพื้นดิน โดยพิจารณาจาก 1) ตำแหน่ง รูปร่างและพฤติกรรมของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว 2) ลักษณะการลดทอนแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวและ 3) การตอบสนองแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในพื้นที่

ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ?

1) วิธีกำหนดค่า (Deterministic Method)

2) วิธีความน่าจะเป็น (Probabilistic Method)

การประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว (Seismic Hazard Analysis)

3) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทย (Seismic Hazard in Thailand)

กว่า 4 ทศวรรษ พัฒนาการการประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทย

4) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศลาว (Seismic Hazard in Laos)

5) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศพม่า (Seismic Hazard in Myanmar)

ส่องภัยพิบัติแผ่นดินไหวของประเทศเพื่อนบ้าน (ลาว . พม่า)

แบบฝึกหัด

ความรู้เพิ่มเติม

. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth

Share: