แผ่นดินไหว

บทที่ 1 แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในอาเซียน (Earthquake Source in ASEAN)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

  • เพื่อเข้าใจสภาพแวดล้อมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานในภูมิภาคอาเซียน
  • เพื่อจำแนกแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน
  • เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน

เนื้อหา

  • เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction Zone)
  • รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault)
  • ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand)
  • ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand)
  • ภาคใต้ของประเทศไทย (Southern Thailand)

ผลจากการเคลื่อนที่และกระทบกระทั่งกันระหว่างแผ่นเปลือกโลก 3 แผ่น คือ แผ่นยูเรเซีย แผ่นอินโด-ออสเตรเลียและแผ่นทะเลฟิลิปปินส์ ทำให้เกิดเขตมุดตัวของเปลือกโลก (subduction zone) และรอยเลื่อน (fault) ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวมากมาย กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ต่างๆของภูมิภาคอาเซียน

ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ?

1) เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction Zone)

13 เขตมุดตัวของเปลือกโลกในอาเซียน ตัวการที่ทำให้เกิดสึนามิ

2) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault)

รอยเลื่อนสะกาย – ยักษ์หลับกลางเมืองพม่า

3) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand)

กลุ่มรอยเลื่อนในภาคเหนือของไทย : แผ่นดินไหวในอดีตและนิสัยที่คาดเผื่อไว้ในอนาคต

4) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand)

กลุ่มรอยเลื่อนในภาคตะวันตกของไทย : แผ่นดินไหวในอดีตและนิสัยที่คาดเผื่อไว้ในอนาคต

5) ภาคใต้ของประเทศไทย (Southern Thailand)

กลุ่มรอยเลื่อนระนอง-คลองมะรุ่ย เป็นหรือตาย ? จากนิยาม “รอยเลื่อนมีพลัง”

แบบฝึกหัด

ความรู้เพิ่มเติม

มัดรวมเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ที่ไทยเคยโดน

. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth

Share: