Tag: การผุพังและการย้ายมวล

สำรวจ

เขาโต๊ะ ที่ราบสูง – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 16

ภูกระดึง ผานกแอ่น ต. ศรีฐาน อ. ภูกระดึง จ. เลย https://goo.gl/maps/1XvzxrYvcTKE3Jsw7 เพิ่มเติม : ชุดข้อมูลภูมิประเทศ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง (ไฟล์ Google Earth .kmz) ชุดข้อมูลเพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาวิจัย และกิจการด้านการอนุรักษ์ของอุทยาน https://drive.google.com/drive/folders/16O3DE9Ftn3amsw7mPenw4El_AXby_tRK ภูผาจิต ภูผาจิต ...
สำรวจ

เสาดิน – เสาหิน เมืองไทย – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 13

แพะเมืองผี แพะเมืองผี ต. น้ำชำ อ. เมืองแพร่ จ. แพร่ https://goo.gl/maps/XepS7VqRKMrYAMTx5 เสาดินนาน้อย เสาดินนาน้อย ต. นาน้อย อ. นาน้อย จ. น่าน https://goo.gl/maps/csj63jr8VzAM3nhx8 ...
สำรวจ

หินเทิน-หินห้อย เมืองไทย – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 8

ทุ่งหินเทิน ทุ่งหินเทิน ต. ปางสวรรค์ อ. ชุมตาบง จ. นครสวรรค์https://goo.gl/maps/pBwWhfuCen2spzps5 หินตา-หินยาย หินตา-หินยาย อ. เกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานีhttps://goo.gl/maps/pqycX4ACdbU1ebPm6 เขาคิชฌกูฏ เขาคิชฌกูฏ ต. ชากไทย ...
สำรวจ

ชุมนุมเกล็ดพญานาค-หินสมอง-หินปุ่ม ของไทย – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 7

หินสามวาฬ ต. โคกก่อง อ. เมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬhttps://goo.gl/maps/brf2Fu39d7dCSWxb6 ภูสิงห์ ต. ชัยพร อ. เมืองบึงกาฬ จ. บึงกาฬhttps://goo.gl/maps/aXTT3KCssRsGN52E7 โสกผีดิบ ต. โสกนกเต็น อ. ...
เรียนรู้

ดิน เบื้องต้น

ดิน (soil) คือ วัตถุทางธรรมชาติที่ปกคลุมพื้นผิวโลกและช่วยในการเจริญเติบโตของพืช ประกอบด้วย เศษหินและแร่ ประมาณ 45% น้ำ ประมาณ 25% ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจนและก๊าซออกซิเจน ประมาณ 25% รวมทั้ง อินทรียวัตถุจากซากพืชซากสัตว์ อีกประมาณ ...
สำรวจ

หินนาคา ภูลังกา กับธรณีวิทยาน่ารู้

ถ้ำนาคา ตั้งอยู่ในเขตอุทยานเเห่งชาติภูลังกา รอยต่อระหว่างจังหวัดบึงกาฬ-นครพนม (กรอบสีขาวในแผนที่) ซึ่งจุดเด่นที่น่าสนใจของถ้ำนาคาและพื้นที่โดยรอบนี้คือ การพบหินที่มีพื้นผิวคล้ายกับเกล็ดของสัตว์ขนาดยักษ์อยู่ทั่วไปในแถบนั้น ซึ่งตามคติชาวบ้านหรือความเชื่อในท้องถิ่นบางส่วนเชื่อว่านี่คือร่างของพญานาคที่ชาวบ้านเรียกว่า หลวงปู่อือลือ ถูกสาปให้ร่างกลายเป็นหินติดอยู่ในถ้ำแห่งนี้ อย่างไรก็ตาม ลักษณะพื้นผิวหินที่คล้ายกับเกล็ดปลาหรือเกล็ดพญานาคนี้ สามารถอธิบายได้ตามหลักวิชาการทางธรณีวิทยา บทความนี้จึงอยากจะเผยแพร่ความรู้ในมุมมองของวิทยาศาสตร์ โดยไม่ได้มีเจตนาที่จะลบหลู่ความเชื่อหรือคติชาวบ้านในพื้นที่แต่อย่างใด ในทางธรณีวิทยา เมื่อหินบนพื้นผิวโลกผ่านร้อนผ่านหนาวและผ่านกาลเวลามาซักระยะ หินก้อนใหญ่ๆ สามารถแตกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยได้ ...
เรียนรู้

ภัยพิบัติการทรุดตัวของพื้นดิน

การทรุดตัว (subsidence) เกิดขึ้นได้ทั้งเร็วและช้า และมีสาเหตุทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ซึ่งบางครั้งการทรุดตัวอาจครอบคลุมพื้นที่กว้างและทำให้เกิดภัยพิบัติ รูปแบบและสาเหตุการทรุดตัวจำแนกได้ 3 รูปแบบ 1) หลุมยุบ หลุมยุบ (sink hole) เป็นการทรุดตัวเนื่องจากการถล่มของโพรงใต้ดินอย่างทันทีทันใด ซึ่งโพรงเกิดขึ้นได้ทั้งจากธรรมชาติ เช่น การกัดเซาะหินปูนของน้ำใต้ดินจนกลายเป็นโพรงหรือถ้ำใต้ดิน โพรงภายในท่อลาวา ...
เรียนรู้

หินก้อนใหญ่ ผุพังได้ยังไง ไปดูกัน

ในทางธรณีวิททยา การผุพัง (weathering) หมายถึง กระบวนการบนพื้นผิวโลกที่ทำให้หินย่อยสลายเป็นชิ้นขนาดเล็กลงโดยที่ไม่มีการเคลื่อนที่ของหินไปที่อื่น ซึ่งศักยภาพหรืออัตราการผุพังขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย 1) เสถียรภาพของแร่ประกอบหิน หินในแต่ละชนิดประกอบด้วยแร่ที่แตกต่างกัน ซึ่งจากหลักการของ ชุดปฏิกิริยาของโบเวน (Bowen’s reaction series) แร่ที่เกิดในช่วงอุณหภูมิสูง เช่น แร่โอลิวีน จะมีความเสถียรต่ำและผุพังได้ง่ายกว่าแร่ที่เกิดขึ้นในช่วงอุณหภูมิต่ำ ...
เรียนรู้

6 รูปแบบภัยพิบัติจากการย้ายมวล กับความเข้าใจเรื่องดินถล่ม

การย้ายมวล อาจจะเป็นคำที่ดูแปลกๆ สำหรับคนทั่วไป แต่จริงๆ แล้วคำว่า การย้ายมวล (mass wasting) เป็นคำเฉพาะในทางธรณีวิทยาที่หมายถึง การเคลื่อนตัวของหิน ดิน โคลนรวมทั้งหิมะ ลงมาตามความลาดชัน หรือที่คนทั่วไปมักจะเรียกกันติดปากว่า ดินถล่ม ซึ่งเป็นกระบวนการที่โลกพยายามจะปรับสภาพพื้นผิวโลกที่สูงๆ ต่ำๆ เกลี่ยให้พื้นโลกมีระดับพอๆ ...