ธรณีวิทยา สะพานพระราม
สะพานพระราม (Rama’s Bridge) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า สะพานอดัม (Adam’s Bridge) เป็น ภูมิลักษณ์ (landform) ทางทะเล ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีลักษณะเป็นเหมือนแนวสันทรายที่ทอดยาว เชื่อมระหว่าง 1) ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แผ่นดินใหญ่ และเกาะยักษ์ที่ห่างออกไปอย่าง ...
ไข่น้ำแข็ง x ธรณีวิทยา
ฟินแลนด์ (Finland) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป ที่อยู่ค่อนไปทางเหนือของทวีป แถบสแกนดิเนเวีย ภูมิอากาศของฟินแลนด์ส่วนใหญ่จึงเป็นแบบหนาวเจี๊ยกเกือบตลอดทั้งปี ซึ่งด้วยความหนาวบวกกับอัตลักษณ์เฉพาะตัวของประเทศ ทำให้ฟินแลนด์เป็นประเทศหนึ่งที่น่าเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นเที่ยวแบบชมบ้านชมเมือง หรือว่าชมปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เรียกว่า แสงเหนือ (aurora)
นักธรณีวิทยา เขาบอกตำแหน่งและการวางตัวของวัตถุบนโลกแบบไหน
เมื่อนักสำรวจหรือนักธรณีวิทยาค้นพบอะไรบางอย่างและต้องการที่จะบอกตำแหน่งหรือการวางตัวของวัตถุ หรือตัวละครที่พิจารณานั้น นักธรณีวิทยามีวิธีการบอกเป็นหลักเป็นการ โดยอันดับแรกจะต้องแปลความหรือมองวัตถุหรือตัวละครนั้นให้อยู่ในเชิงเรขาคณิตเสียก่อน ว่าเป็น จุด เส้น ระนาบ หรือจะเป็น รูปทรง ที่มีปริมาตรหลังจากนั้นในแต่ละชนิดก็จะมีรูปแบบของการบรรยายหรือพรรณนาตำแหน่งและการวางตัวที่แตกต่างกัน ดังนี้ จุด (Point) ในกรณีของวัตถุที่พิจารณาว่าเป็นจุด เช่น ตำแหน่งหมู่บ้านตำแหน่งภูเขาไฟ หรือ ...
วิทยาศาสตร์โลก (Earth Science) และลูกๆ ของเขา
ความเชื่อเกี่ยวกับโลกในอดีต ในอดีตการศึกษาเกี่ยวกับโลกมีวิวัฒนาการมาจากการพัฒนาลัทธิความเชื่อ 3 ลัทธิ ได้แก่ 1) ลัทธิความหายนะ (Catastrophism) เกิดขึ้นในสมัยโบราณ โดยเชื่อว่าโลกเกิดขึ้นมาอย่างลี้ลับ เหนือความเข้าใจของมนุษย์ ทุกอย่างในโลกเกิดจากปรากฏการณ์ที่รุนแรงและรวดเร็ว ซึ่งลัทธินี้สอดคล้องกับหลักการทางศาสนาคริสต์ซึ่งเจริญรุ่งเรื่องในยุคนั้น 2) ลัทธิดุลยภาพ (Uniformitarianism) นำเสนอเป็นครั้งแรกโดย เจมส์ ...
5 แนวทางสืบพยาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประเด็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ถูกยกขึ้นมาพูดถึงและมีการถกเถียงกันมาอย่างยาวนาน นักวิจัยหรือนักวิชาการสายรักษ์โลกก็พยายามตีความไปในทางที่ว่าปัจจุบันโลกกำลังร้อนขึ้น และสาเหตุสำคัญที่ทำให้เป็นอย่างนี้ก็คือกิจกรรมของมนุษย์อย่างพวกเรา แต่ก็มีนักวิชาการบางส่วนที่พยายามตีแผ่ข้อมูลว่าจากคาบหรือวงรอบของการขึ้นๆ ลงๆ ของอุณหภูมิหรือสภาพอากาศ ในปัจจุบันนี้กำลังถึงจุดสูงสุด และกำลังเข้าสู่ภาวะที่จะกดหัวไปในทางที่โลกเย็นลง และภูมิอากาศของโลกกำลังเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) หมายถึง การเบี่ยงเบนของสภาพอากาศไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งติดต่อกันเป็นระยะเวลานานหลายปี เช่น 1) จากการสังเกตวัฒนธรรมในอดีตที่ผ่านมา ...
บทที่ 23 : ลมและพายุ (Wind and Storm)
ชนิดของลม พายุหมุนเขตร้อน ทอร์นาโด (Tornado) : เล็ก เรียว แต่รุนแรง คลื่นพายุซัดฝั่ง เมทิโอสึนามิ : สึนามิที่เกิดจากกระบวนการทางอุตุนิยมวิทยา . . .บทความล่าสุด : www.mitrearth.orgเยี่ยมชม facebook ...
บทที่ 22 : สภาพอากาศ (Weather)
หยาดน้ำฟ้า ไม่ได้มีแค่ฝนกับหิมะ เมฆ . หมอก . น้ำค้าง สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) : คลื่นความร้อน – โพลาร์ วอร์เท็กซ์ . . .บทความล่าสุด ...
บทที่ 21 : ภูมิอากาศ (Climate)
ภูมิอากาศและระบบภูมิอากาศ รู้จักแนวปะทะอากาศ รู้จักเมฆฝน ยุคน้ำแข็ง (Ice Age) 5 แนวทางสืบพยาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีวิธีไหนบ้างที่ทำให้ภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงได้ ยุคน้ำแข็ง (Ice Age) . . .บทความล่าสุด : www.mitrearth.orgเยี่ยมชม ...
บทที่ 20 : บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ . . .บทความล่าสุด : www.mitrearth.orgเยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth
บทที่ 19 : ทรัพยากรธรณี (Geological Resource)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจการสะสมตัวของแหล่งแร่และปิโตรเลียม เพื่อทราบกระบวนการสำรวจและผลิตแหล่งแร่และปิโตรเลียม เพื่อทราบพลังงงานทางเลือกชนิดต่างๆ เนื้อหา ทรัพยากรแร่ (Mineral Resource) รูปแบบการทำเหมือง (Type of Mining) ทรัพยากรพลังงาน (Energy Resource) การสำรวจและผลิต (Exploration and ...
บทที่ 18 : การแแปรสภาพหินและหินแปร (Metamorphism and Metamorphic Rock)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการแปรสภาพหิน เพื่อจำแนกระดับและสภาพแวดล้อมการแปรสภาพ เพื่อทราบชนิดหินแปร เนื้อหา ปัจจัยการแปรสภาพ (Factor of Metamorphism) ระดับการแปรสภาพ (Metamorphic Grade) สภาพแวดล้อมการแปรสภาพ (Metamorphic Setting) ชุดแร่หินแปร (Metamorphic Facies) ...
บทที่ 17 : การเปลี่ยนรูปหิน (Rock Deformation)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทราบรูปแบบการเปลี่ยนรูปของวัสดุ เพื่อจำแนกรูปแบบการเปลี่ยนรูปของหินในแผ่นเปลือกโลก เพื่อทำความเข้าใจกลไกการเกิดภูเขา เนื้อหา การเปลี่ยนรูปวัสดุ (Deformation of Material) ชั้นหินคดโค้ง (Fold) รอยแยก (Fracture) รอยเลื่อน (Fault) กระบวนการเกิดภูเขา (Orogeny) สมดุลอุทกสถิต ...
บทที่ 16 : ธรณีประวัติ (Historical Geology)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทราบลำดับเหตุการ์ทางธรณีวิทยาที่สำคัญของโลกในช่วงเวลาต่างๆ เพื่อทราบสภาพแวดล้อมทางธรณีแปรสัณฐานและการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตในมหายุคต่างๆ เพื่อทราบสาเหตุการสูญพันธุ์ของสิ่งมีวิตในแต่ละมหายุค เนื้อหา มหายุคพรีแคมเบียน (Precambrian Era) มหายุคพาลีโอโซอิก (Paleozoic Era) การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ครั้งที่ 1 (1st Mass Extinction) มหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic ...
บทที่ 15 : ลำดับชั้นหิน (Stratigraphy)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทราบการแบ่งช่วงอายุและลำดับเวลาทางธรณีวิทยา เพื่อเข้าใจหลักการลำดับชั้นหินและการกำหนดอายุสัมพัทธ์ เพื่อเข้าใจหลักการกำหนดอายุสัมบูรณ์ เนื้อหา ธรณีกาล (Geological Time Scale) ลำดับชั้นหิน (Stratigraphy) ฟอสซิล (Fossil) การกำหนดอายุสัมบูรณ์ (Absolute-age Dating) การกำหนดอายุด้วยวิธีกัมมันตรังสี (Radiometric ...
บทที่ 14 : ตะกอนและหินตะกอน (Sediment and Sedimentary Rock)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจำแนกตะกอนตามขนาด ความกลม ความมนและการคัดขนาด เพื่อทำความเข้าใจสภาพแวดล้อมการตกตะกอน เพื่อจำแนกหินตะกอบเนื้อเม็ด หินตะกอนเคมีและหินตะกอนชีวภาพ เนื้อหา ตะกอนและการจำแนก (Sediment and Classification) สภาพแวดล้อมการตกตะกอน (Depositional Environment) หินตะกอนเนื้อเม็ด (Clastic Sedimentary ...
บทที่ 13 : ทะเลทราย (Desert)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจำแนกสาเหตุการเกิดทะเลทราย เพื่อเข้าใจกระบวนการและลักษณะเฉพาะของการกัดกร่อนในทะเลทราย เพื่อเข้าใจกระบวนการและภูมิลักษณ์ของการสะสมตัวในทะเลทราย เนื้อหา พื้นที่แห้งแล้ง (Arid Area) ชนิดของทะเลทราย (Type of Desert) การกัดกร่อนโดยลม (Erosion by Wind) การกัดกร่อนโดยน้ำ (Erosion ...
บทที่ 12 : ธารน้ำแข็ง (Glacier)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเกิดและชนิดของธารน้ำแข็ง เพื่อเข้าใจกระบวนการผุพังเนื่องจากธารน้ำแข็ง เพื่อเข้าใจกระบวนการสะสมตัวของตะกอนเนื่องจากธารน้ำแข็ง เนื้อหา ธารน้ำแข็งและกระบวนการเกิด (Glacier and Formation) ชนิดของธารน้ำแข็ง (Type of Glacier) ปริมาณและการเคลื่อนที่ของธารน้ำแข็ง (Glacial Budget and Transportation) ...
บทที่ 11 : ฝั่งและหาด (Coast and Shore)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจำแนกลักษณะของชายฝั่งและชายหาด เพื่อทำความเข้าใจกระบวนการผุพังโดยคลื่นน้ำ เพื่อทำความเข้าใจกระบวนการการสะสมตัวของตะกอนโดยคลื่นน้ำ เพื่อทราบแนวทางและวิธีป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง เนื้อหา คลื่นน้ำ (Water Wave) กระแสน้ำขึ้น-น้ำลง (Tidal Current) ชายฝั่ง (Coast) ชายหาด (Beach) การผุพังและสะสมตัวคลื่น (Wave ...
บทที่ 10 : พื้นมหาสมุทร (Ocean Floor)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจองค์ประกอบของน้ำทะเลและการเคลื่อนที่ของน้ำในมหาสมุทร เพื่อจำแนกลักษณะเฉพาะของสภาพแวดล้อมต่างๆ ในพื้นมหาสมุทร เนื้อหา มหาสมุทร (Ocean) การเคลื่อนที่ของกระแสน้ำ (Movement of Ocean Current) การสำรวจพื้นมหาสมุทร (Ocean-floor Exploration) ขอบทวีป (Continental Margin) ...
บทที่ 9 : น้ำใต้ดิน (Groundwater)
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจำแนกชั้นน้ำต่างๆ ของน้ำใต้ดินได้ เพื่อเข้าใจกระบวนการทางธรรมชาติของน้ำใต้ดิน เพื่อทราบผลกระทบเนื่องจากการสูบน้ำใต้ดินมาใช้มากเกินไป เนื้อหา น้ำใต้ดิน (Groundwater) ปัจจัยการไหลของน้ำใต้ดิน (Factor of Groundwater) ชั้นน้ำใต้ดิน (Groundwater Layer) การเคลื่อนที่ของน้ำใต้ดิน (Groundwater Movement) ...