Monthly Archives: มีนาคม 2019

แผ่นดินไหว

บทที่ 7 ขนาดและมาตราวัดแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้เข้าใจและสามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่าง 1) ขนาดแผ่นดินไหว 2) แรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว และ 3) ความรุนแรงแผ่นดินไหว เพื่อให้รู้จักแผนที่ความรุนแรงแผ่นดินไหวเท่า รวมทั้งวิธีการศึกษาและประโยชน์ของการนำไปใช้ เนื้อหา ขนาดแผ่นดินไหว แรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว ความรุนแรงแผ่นดินไหว แผนที่ความรุนแรงแผ่นดินไหวเท่า ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 6 คลื่นแผ่นดินไหวและการตอบสนอง

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบถึงรูปแบบการส่งผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้างจากแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว ตลอดจนแนวทางทางวิศวกรรมที่ใช้ในการบรรเทาผลกระทบจากแผ่นดินไหว สามารถใช้ประโยชน์คลื่นไหวสะเทือนที่ตรวจวัดได้มากำหนดจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว เนื้อหา คลื่นแผ่นดินไหว กลวิธีชี้เป้า เมื่อคนโดนคลื่น เมื่อคนสู้คลื่น ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) คลื่นแผ่นดินไหว แรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว : หน้าตา นิสัย และหน่วยวัด ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 5 เครื่องและเครือข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้เข้าใจกลไกการทำงานของทั้งเครื่องตรวจจับและเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว และสามารถเลือกใช้เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวรุ่นต่างๆ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์หรือวัตถุประสงค์ในการตรวจวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเข้าใจการติดตั้งสถานีตรวจวัดและการวางเครือข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหวในเบื้องต้น เนื้อหา เครื่องตรวจจับแผ่นดินไหว เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว การติดตั้งสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหว เครือข่ายวัดแผ่นดินไหว ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) เครื่องตรวจจับแผ่นดินไหว เครื่องจับแผ่นดินไหวแรกของโลก กับความคูลของคุณปู่จาง 2) เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 4 สึนามิ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบสาเหตุการเกิดสึนามิ และความพิเศษหรือลักษณะเฉพาะของสึนามิที่ไม่เหมือนคลื่นน้ำชนิดอื่นๆ เข้าใจหลักการการศึกษาสึนามิบรรพกาล ทราบสถานการณ์การเกิดสึนามิของไทยทั้งในฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทย เนื้อหา สึนามิ เมทิโอสึนามิ สึนามิบรรพกาล สึนามิกำพร้า-ป่าผี สถานการณ์สึนามิในอ่าวไทย ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) สึนามิ ความพิเศษของ “สึนามิ” ที่คลื่นน้ำอื่นๆ ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 3 ผลกระทบจากแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหวที่ไม่ได้มีเฉพาะแรงสั่นสะเทือนเท่านั้น แต่ยังมีภัยพิบัติอีกหลายๆ รูปแบบ ที่สามารถเกิดขึ้นได้ด้วย เนื้อหา แรงสั่นสะเทือน สึนามิ ทรายพุ น้ำท่วม อื่นๆ (ดินถล่ม หลุมยุบ ไฟไหม้) ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) แรงสั่นสะเทือน ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 2 สาเหตุแผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทราบสาเหตุการเกิดแผ่นดินไหวต่างๆ โดยนอกจากกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของแผ่นดินไหวแล้ว ยังมีสาเหตุอื่นๆ อีกทั้งจากกิจกรรมทางธรรมชาติและจากการเหนี่ยวนำของมนุษย์ เนื้อหา นิยามแผ่นดินไหว สาเหตุจากธรรมชาติ สาเหตุจากมนุษย์ ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) นิยามแผ่นดินไหว แรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว : หน้าตา ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 1 แผ่นดินไหวกับคติชาวบ้าน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา ขอให้เมามันส์ไปกับแรงสั่นของแผ่นดินไหวนะครับ ? 1) ความเชื่อในยุโรป 2) ตำนานแถบแอฟริกา 3) นิทานในอเมริกา (เหนือ กลาง ใต้) 4) ความศรัทธาแถบเอเชีย 5) ตำนานในประเทศไทย แบบฝึกหัด ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 23 : ลมและพายุ (Wind and Storm)

ชนิดของลม พายุหมุนเขตร้อน ทอร์นาโด (Tornado) : เล็ก เรียว แต่รุนแรง คลื่นพายุซัดฝั่ง เมทิโอสึนามิ : สึนามิที่เกิดจากกระบวนการทางอุตุนิยมวิทยา . . .บทความล่าสุด : www.mitrearth.orgเยี่ยมชม facebook ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 22 : สภาพอากาศ (Weather)

หยาดน้ำฟ้า ไม่ได้มีแค่ฝนกับหิมะ เมฆ . หมอก . น้ำค้าง สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather) : คลื่นความร้อน – โพลาร์ วอร์เท็กซ์ . . .บทความล่าสุด ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 21 : ภูมิอากาศ (Climate)

ภูมิอากาศและระบบภูมิอากาศ รู้จักแนวปะทะอากาศ รู้จักเมฆฝน ยุคน้ำแข็ง (Ice Age) 5 แนวทางสืบพยาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีวิธีไหนบ้างที่ทำให้ภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงได้ ยุคน้ำแข็ง (Ice Age) . . .บทความล่าสุด : www.mitrearth.orgเยี่ยมชม ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 20 : บรรยากาศ (Atmosphere)

บรรยากาศ . . .บทความล่าสุด : www.mitrearth.orgเยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 19 : ทรัพยากรธรณี (Geological Resource)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจการสะสมตัวของแหล่งแร่และปิโตรเลียม เพื่อทราบกระบวนการสำรวจและผลิตแหล่งแร่และปิโตรเลียม เพื่อทราบพลังงงานทางเลือกชนิดต่างๆ เนื้อหา ทรัพยากรแร่ (Mineral Resource) รูปแบบการทำเหมือง (Type of Mining) ทรัพยากรพลังงาน (Energy Resource) การสำรวจและผลิต (Exploration and ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 18 : การแแปรสภาพหินและหินแปร (Metamorphism and Metamorphic Rock)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการแปรสภาพหิน เพื่อจำแนกระดับและสภาพแวดล้อมการแปรสภาพ เพื่อทราบชนิดหินแปร เนื้อหา ปัจจัยการแปรสภาพ (Factor of Metamorphism) ระดับการแปรสภาพ (Metamorphic Grade) สภาพแวดล้อมการแปรสภาพ (Metamorphic Setting) ชุดแร่หินแปร (Metamorphic Facies) ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 17 : การเปลี่ยนรูปหิน (Rock Deformation)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทราบรูปแบบการเปลี่ยนรูปของวัสดุ เพื่อจำแนกรูปแบบการเปลี่ยนรูปของหินในแผ่นเปลือกโลก เพื่อทำความเข้าใจกลไกการเกิดภูเขา เนื้อหา การเปลี่ยนรูปวัสดุ (Deformation of Material) ชั้นหินคดโค้ง (Fold) รอยแยก (Fracture) รอยเลื่อน (Fault) กระบวนการเกิดภูเขา (Orogeny) สมดุลอุทกสถิต ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 16 : ธรณีประวัติ (Historical Geology)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทราบลำดับเหตุการ์ทางธรณีวิทยาที่สำคัญของโลกในช่วงเวลาต่างๆ เพื่อทราบสภาพแวดล้อมทางธรณีแปรสัณฐานและการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตในมหายุคต่างๆ เพื่อทราบสาเหตุการสูญพันธุ์ของสิ่งมีวิตในแต่ละมหายุค เนื้อหา มหายุคพรีแคมเบียน (Precambrian Era) มหายุคพาลีโอโซอิก (Paleozoic Era) การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ครั้งที่ 1 (1st Mass Extinction) มหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 15 : ลำดับชั้นหิน (Stratigraphy)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทราบการแบ่งช่วงอายุและลำดับเวลาทางธรณีวิทยา เพื่อเข้าใจหลักการลำดับชั้นหินและการกำหนดอายุสัมพัทธ์ เพื่อเข้าใจหลักการกำหนดอายุสัมบูรณ์ เนื้อหา ธรณีกาล (Geological Time Scale) ลำดับชั้นหิน (Stratigraphy) ฟอสซิล (Fossil) การกำหนดอายุสัมบูรณ์ (Absolute-age Dating) การกำหนดอายุด้วยวิธีกัมมันตรังสี (Radiometric ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 14 : ตะกอนและหินตะกอน (Sediment and Sedimentary Rock)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจำแนกตะกอนตามขนาด ความกลม ความมนและการคัดขนาด เพื่อทำความเข้าใจสภาพแวดล้อมการตกตะกอน เพื่อจำแนกหินตะกอบเนื้อเม็ด หินตะกอนเคมีและหินตะกอนชีวภาพ เนื้อหา ตะกอนและการจำแนก (Sediment and Classification) สภาพแวดล้อมการตกตะกอน (Depositional Environment) หินตะกอนเนื้อเม็ด (Clastic Sedimentary ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 13 : ทะเลทราย (Desert)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจำแนกสาเหตุการเกิดทะเลทราย เพื่อเข้าใจกระบวนการและลักษณะเฉพาะของการกัดกร่อนในทะเลทราย เพื่อเข้าใจกระบวนการและภูมิลักษณ์ของการสะสมตัวในทะเลทราย เนื้อหา พื้นที่แห้งแล้ง (Arid Area) ชนิดของทะเลทราย (Type of Desert) การกัดกร่อนโดยลม (Erosion by Wind) การกัดกร่อนโดยน้ำ (Erosion ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 12 : ธารน้ำแข็ง (Glacier)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเกิดและชนิดของธารน้ำแข็ง เพื่อเข้าใจกระบวนการผุพังเนื่องจากธารน้ำแข็ง เพื่อเข้าใจกระบวนการสะสมตัวของตะกอนเนื่องจากธารน้ำแข็ง เนื้อหา ธารน้ำแข็งและกระบวนการเกิด (Glacier and Formation) ชนิดของธารน้ำแข็ง (Type of Glacier) ปริมาณและการเคลื่อนที่ของธารน้ำแข็ง (Glacial Budget and Transportation) ...
วิทยาศาสตร์โลก

บทที่ 11 : ฝั่งและหาด (Coast and Shore)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อจำแนกลักษณะของชายฝั่งและชายหาด เพื่อทำความเข้าใจกระบวนการผุพังโดยคลื่นน้ำ เพื่อทำความเข้าใจกระบวนการการสะสมตัวของตะกอนโดยคลื่นน้ำ เพื่อทราบแนวทางและวิธีป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง เนื้อหา คลื่นน้ำ (Water Wave) กระแสน้ำขึ้น-น้ำลง (Tidal Current) ชายฝั่ง (Coast) ชายหาด (Beach) การผุพังและสะสมตัวคลื่น (Wave ...