Latest Articles

สำรวจเรียนรู้แผ่นดินไหว

รวม 6 คำถามพบบ่อย สถานการณ์ของ แผ่นดินไหว x ประเทศไทย

ด้วยการสื่อสารที่ทำกันได้ง่ายขึ้นในปัจจุบัน เรื่องน่าสนใจไม่ว่าจะเล็กจะใหญ่ก็ส่งต่อถึงกันได้ง่ายๆ ผ่านทั้งทางสื่อหลักและสื่อโซเชียล แผ่นดินไหวและพิบัติภัยทางธรณีวิทยาก็เช่นกัน เกิดเมื่อไหร่ ไม่เกินข้ามคืน รู้กันทั่วตั้งแต่หัวบ้านยันท้ายซอย ซึ่งก็โอเคอยู่ ถ้าจะเม้าส์มอยส์กันพอแก้เหงา แต่ถ้าจะเอามากระตุกจิตกระชากใจ ให้กังวล โดยเฉพาะแผ่นดินไหวในประเทศไทย ผู้เขียนว่าเราน่าจะขาดทุน แน่นอนว่าคนไทยมีเรื่องแผ่นดินไหวให้คุยกันเป็นระยะๆ ทั้งแผ่นดินไหวใหญ่ในต่างประเทศ หรือแผ่นดินไหวขนาดปานกลางทั้งในและรอบบ้านของเรา แต่หลายครั้งที่บทสนทนาส่งท้าย ไปลงที่คำทำนายในอนาคต บ้านโน้นโดนอย่างนั้น ซักวันบ้านเราคงจะโดนอย่างนี้ ...
สำรวจ

ศิลาแลง : วัสดุก่อสร้างยอดนิยมในอดีต (ยาวหน่อย แต่อร่อยนะ)

เปิดหัวง่ายๆ เลยครับ ศิลาแลง (laterite) เป็นหนึ่งในวัสดุยอดนิยมในอดีต ที่มักจะถูกนำมาใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเหล่าปราสาท ที่มีอยู่มากมายทั้งในไทยและกัมพูชา ปัจจุบันก็ยังมีการนำศิลาแลงมาใช้ ทั้งบดให้ละเอียดเป็นถนนลูกรัง หรือตัดเป็นก้อนๆ มาปูพื้นแต่งสวน นั่นไง !!! ศิลาแลงถึงได้สำคัญและใกล้ตัว อย่ากระนั้นเลยครับ รู้จักเขาไว้ซักหน่อยก็ดี เผื่อวันดีคืนดี มีโอกาสไปเดินเที่ยวปราสาทกับสาวๆ จะได้มีเรื่องเล่าให้โชว์พาวด์ ...
สำรวจ

เขามีดอีโต้ – ธรณีวิทยาพาเที่ยว

ภูเขารูปมีดอีโต้ หรือที่ทางวิชาการ เรียกว่า ภูมิประเทศเควสตา (cuesta topography) คือ ภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็นแนวภูเขาที่มีสันเขาแหลมคม ด้านหนึ่งของฝั่งเขามีความชันสูง ส่วนอีกด้านหนึ่งของฝั่งเขามีความชันต่ำราดลงไป โดยปกติ หากเราพบเห็นภูเขารูปมีดอีโต้ หรือลักษณะภูมิประเทศแบบเควสตา โดยส่วนใหญ่หินในแถบนี้มักจะเป็น หินตะกอน (sedimentary rock) วางตัวเป็นชั้นๆ ตามแนวของฝั่งเขาที่มีความชันสูง และชั้นหินทุกชั้นจะวางตัวเอียงเทไปทางฝั่งที่มีความชันต่ำของแนวเขา ...
สำรวจ

พบหอพักหนุ่มสาวโรงงาน ถลุงเหล็กโบราณ ที่บุรีรัมย์

ในการเปิดเวย์สำรวจใหม่ในแต่ละพื้นที่ บ่อยครั้งที่นักโบราณคดี พบหลักฐานกิจกรรมการทำงานของมนุษย์ในอดีต ไม่ว่าจะเป็นการทำเหมืองหินก่อสร้าง (หินทราย-ศิลาแลง) เตาผลิตเครื่องปั้นดินเผา หรือ กองเนินตระกัน (ขี้แร่) ที่บ่งชี้ถึงกิจกรรมการถลุงโลหะ ซึ่งหลักฐานเหล่านี้ ล้วนเป็นตัวบ่งชี้การ (เคย) มีอยู่ของกลุ่มคน หรือชุมชน ณ สถานที่นั้นๆ อย่างไรก็ตาม ถ้าจะเก็บงานให้ละเมียด ปิดจ๊อบแบบละเอียด ...
สำรวจ

ปราสาทเมืองเก่า เนียงเขมาเมืองไทย

สำรวจโดย : สันติ ภัยหลบลี้ และ กังวล คัชชิมา ในการเที่ยวชมปราสาทหินทั้งของไทยและกัมพูชา หนึ่งในลีลาที่คนพื้นที่หรือไกด์ทัวร์ พยายามจะสร้างสเน่ห์ให้ปราสาทแต่ละที่ให้มีความเป็นปัจเจก มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร คือการสกัดจุดเด่น และตั้งฉายาให้กับปราสาทแต่ละหลัง เช่นปราสาทในแถบนครวัด-นครธม ก็จะเน้นความยิ่งใหญ่อลังการ ปราสาทเกาะแกร์ ได้ฉายาว่า พีระมิดแห่งเอเชีย ปราสาทบันทายสรี ถึงจะเป็นประสาทขนาดเล็กแต่ก็มีการแกะสลักหินให้มีลวดลายวิจิตรงดงาม ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 15 การลำดับชั้นหิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 5 โครงสร้างภายในโลก

1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา เติมในช่องว่างด้านซ้ายในแต่ละข้อที่กำหนดให้ เพื่ออธิบายความหมายของคำด้านซ้ายอย่างถูกต้องและเหมาะสม 1. ____ง.   ก. เนื้อโลก (mantle) 2. ____ข.   ข. แผ่นเปลือกโลกทวีป ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 4 แผ่นดินไหว

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 6 ภูเขาไฟและหินอัคนี

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 14 ตะกอนและหินตะกอน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 2 แร่และหิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าชื่อแร่ด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีระดับความแข็งตาม ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 16 ธรณีประวัติ

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 13 ทะเลทราย

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 10 มหาสมุทรและพื้นทะเล

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายภูมิลักษ์ของพื้นมหาสมุทรทางด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 9 น้ำใต้ดิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
เรียนรู้

แบบฝึกหัด 8 น้ำผิวดิน

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ คำอธิบาย : เลือก ตัวอักษร หน้าคำบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อที่มีความสัมพันธ์กัน ...
สำรวจ

ข้อย้อนแย้ง ธรณีวิทยา-โบราณคดี : กรณีวัดแสนตุ่ม อ. เขาสมิง จ. ตราด

วัดแสนตุ่ม หรือ วัดเขาโต๊ะโม๊ะ อ. เขาสมิง จ. ตราด คือหนึ่งในแหล่งโบราณคดี ที่ทางกรมศิลปากรได้ประกาศและขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเอาไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ในนาม เมืองเก่าแสนตุ่ม ซึ่งลักษณะโดยทั่วไปของพื้นที่ คือสภาพเนินลูกโดด ตั้งตระหง่านอยู่กลางพื้นที่ราบภายในวัด โดยความสูงของเนิน ประเมินด้วยสายตา กะได้คร่าวๆ ว่า ...
สำรวจ

3 ขั้นตอน ตัดหินโบราณ กับหลักฐานชัดสุดๆ เท่าที่เคยเห็นมา

ตั้งต้นจาก การมีอยู่ไม่น้อย ของปราสาทหินในประเทศไทย โดยเฉพาะภาคอีสาน ทำให้หนึ่งในประเด็นทางโบราณคดีที่น่าสนใจคือ ประเด็นวัสุดก่อสร้าง ปราสาทสร้างจากหินอะไรอ่ะ ? ไปเอาหินกันมาจากไหนนะ ? แล้ว ขนหินหนักๆ มากันยังไงเนี่ย ? เหล่านี้ล้วนเป็นคำถามติดใจทุกครั้ง เวลาเราไปเที่ยวชมปราสาทหิน ซึ่งจากการบุกป่าฝ่าดงของนักโบราณคดีรุ่นใหญ่ในสมัยก่อน ปัจจุบันมีรายงานแหล่งตัดหินโบราณ กระจายอยู่ในหลายพื้นที่ เช่น ...
สำรวจ

หินตั้ง – ใครคนตั้ง ?

ในบรรดาปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ การมีหินก้อนใหญ่ๆ เหมือนถูกใครจับมาวางตั้งไว้บนยอดเขา เป็นหนึ่งในกิริยาที่คนทั่วไปมักจะรู้สึกว้าว ศรัทธาในความอัศจรรย์ และก็มีอยู่หลายที่ที่ถูกสถาปนาให้มีศักดิ์สิทธิ์ ตัวอย่างเช่น พระธาตุไจที่โย่ หรือ พระธาตุอินทร์แขวน ในประเทศพม่า จากความหาเหตุผลไม่ได้ ว่าทำไมหินก้อนใหญ่ถึง (ดูเหมือนกับว่า) มาตั้งบนยอดเขา ความเชื่อและเรื่องราวจึงถูกร้อยเรียงขึ้น โดยมีใจความว่า หินที่พระธาตุอินทร์แขวน เป็นหินที่พระอินทร์นำมาแขวนเอาไว้ จากการควานหาสถานที่ที่มีหินตั้งทั่วประเทศ ...
สำรวจ

ธรณีวิทยา เสาหินเหลี่ยม

เสาหินเหลี่ยม (columnar joint) คือ หนึ่งในหลายๆ รูปแบบของโครงสร้างทางธรณีวิทยา (geological structure) ที่แสดงการแตกอย่างเป็นระบบของมวลหิน โดย ระบบรอยแตก (joint set) ทั่วไป เกิดจากแรงบีบอัด (compression stress) ของแรงทางธรณีแปรสัณฐาน ที่เข้ามากระทำมวลหิน ทำให้หินปริแตกในแนวตั้งฉากกับแนวแรงที่กระทำ ...