ดินบรรพกาล (paleosol) : ประโยชน์ในการตีความทางธรณีวิทยา
ทุกคนรู้จัก ดิน (soil) แต่ ดินบรรพกาล (paleosol) เป็นยังไง ? เชื่อว่าน้อยคนที่จะรู้จัก ทำไมต้องรู้จัก มันมีประโยชน์ในการสำรวจทางธรณีวิทยายังไงบ้าง ว่างๆ ลองอ่านเล่นๆ กันนะครับ 1) กำเนิดดิน ในทางธรณีวิทยา วัสดุโลก ...
แท่งเสาหินภูเขาไฟ เมืองไทย – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 9
บุรีรัมย์ เสาหินบะซอลต์ภูเขาไฟ บุรีรัมย์ บ้านโคกม่ะค่าโหรน ต.สะเดา อ. นางรอง จ. บุรีรัมย์https://goo.gl/maps/Ug1qc3Mjm1X7Pt6y5 น้ำตก xxx เสาหิน 15 ล้านปี วิเชียรบุรี เสาหิน 15 ล้านปี ...
10 ภูเขาไฟยุคใหม่ของไทย – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 1
นับตั้งแต่ดินแดนที่ปัจจุบันเราเหมาว่าเป็นไทย ถือกำเนิดโผล่พ้นน้ำขึ้นมาเป็น แผ่นเปลือกโลกทวีปย่อย (craton) อย่างน้อยๆ ก็ราวๆ 440-550 ล้านปีก่อน (อายุของ กลุ่มหินตะรุเตา ยุคแคมเบรียนและยุคออร์โดวิเชียน) จวบจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยเคยมีกิจกรรมทางภูเขาไฟมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็น 1) ภูเขาไฟที่เกิดจากการแยกตัวของแผ่นเปลือกโลก ในสมัยที่ประเทศไทยบางส่วน เคยเป็นแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร ...
ปราสาทเขาปลายบัด บุรีรัมย์ : จากกำแพงหินเนื้อแปลก สู่เหมืองหินลึกลับที่น่าค้นหา
ปลายบัด เป็นเขาลูกโดด ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขาพนมรุ้ง อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. บุรีรัมย์ ซึ่งในทางธรณีวิทยา เขาปลายบัดเป็นภูเขาไฟเก่า แต่ปัจจุบันถือว่าดับสนิทแล้ว (ไม่มีแมกมาอยู่ใต้เขาแล้ว) ในทางโบราณคดี บนพื้นที่เขาปลายบัด มีโบราณสถาณสมัยอาณาจักรแขมร์สำคัญ 2 แห่ง ได้แก่ ปราสาทเขาปลายบัด ...
เกาะบาเรน : ภูเขาไฟที่หลอนคนไทยให้ผวา สึนามิ
สึนามิเกิดได้จากหลายสาเหตุ นอกจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ที่เป็นสาเหตุหลักของสึนามิ ดินถล่มหรือ ภูเขาไฟ ใต้ทะเลก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สร้างสึนามิได้ หลังปี พ.ศ. 2547 คนไทยรู้ดีว่า ห่างออกไปนอกชายฝั่งอันดามันของไทย มี เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sunatra-Andanan Subduction Zone) ...
6 ลีลาโลก กับการสร้างภูเขา
หากพิจารณา พื้นทวีป (continent) นักวิทยาศาสตร์พบว่าประกอบด้วย ภูมิประเทศทางธรณีวิทยา (terrain) 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) หินฐานทวีป (continental shield) หมายถึง พื้นทวีปราบเรียบ ที่มีความแตกต่างของระดับความสูงน้อย และระดับความสูงโดยเฉลี่ยใกล้เคียงกับระดับน้ำทะเล หินฐานทวีปโดยส่วนใหญ่อยู่บริเวณกลางทวีป ...