สำรวจ

Explore

สำรวจ

ทำไม ญี่ปุ่น ถึงอุดมไปด้วย แผ่นดินไหว

หากเรามองแผ่นเปลือกโลกเป็นเหมือนจิ๊กซอว์ที่อยู่ชิดติดกัน แผ่นดินญี่ปุ่น ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวยาวคร่อมอยู่บนจิ๊กซอว์ชื่อแปลกๆ 3 แผ่น คือ 1) แผ่นเปลือกโลกโอค็อตสค์ (Okhotsk Plate) ทางตอนเหนือ 2) แผ่นเปลือกโลกทะเลฟิลิปปินส์ (Philippine Sea Plate) ทางตอนใต้ และ 3) ...
สำรวจ

ฤา หินบะซอลต์ เขาพนมรุ้ง-ปลายบัด จะเคยผ่านมือชาย

ในทางภูมิศาสตร์ เขาพนมรุ้ง-ปลายบัด เป็นภูเขาลูกโดดอยู่กลางที่ราบลุ่ม มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4-6 กิโลเมตร สูง ประมาณ 100-180 เมตร จากพื้นราบ บนยอดมี ปล่องภูเขาไฟ (crater) ซึ่งในทางโบราณคดีมี ปราสาทหินพนมรุ้ง ปราสาทเขาปลายบัด ๑ และ ปราสาทเขาปลายบัด ...
สำรวจ

ภูมิศาสตร์โบราณคดี พนมรุ้ง บุรีรัมย์

ในมิติการท่องเที่ยวคีย์เวิร์ด พนมรุ้ง คงหมายเพียงถึงปราสาทสวยๆ หลังเดียว ที่อยู่บนยอดภูเขาไฟพนมรุ้ง แต่จากข้อมูลโบราณคดีในพื้นที่พบว่า มีตัวละครอีกมากมายอยู่รายรอบแลนด์มาร์คเขาพนมรุ้งลูกนี้ จนทำให้ภาพอารยธรรมในพื้นที่มีความหลากหลายและร้อยเรียงกันอยู่อย่างละมุล หากไม่คิดเรื่องห้วงเวลาและความต่างของยุคสมัย กิจกรรมมากมายเคยเกิดขึ้นที่นี่ ตลอดระยะเวลากว่าพันปี งานสถาปนิก-วิศวกรรมในการก่อสร้างอาคารและประสาท งานโลจิสติกส์การขนถ่ายวัตถุดิบจากแหล่งผลิตสู่จุดหมาย งานเกษตรกรรมที่มีนวัตกรรมอยู่มากมาย ตลอดจนงานอุตสาหกรรมผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ก็มากมี ณ ดินแดนแห่งนี้ วนัมรุง วนัมรุง เป็นคำเขมรโบราณของ ...
สำรวจ

หิน-ลับ-หิน ที่ปราสาทเขาปลายบัด ๒ (เพิ่งเจอเมื่อวาน บอก “โบราณ” ไว้ก่อน)

ทีมเล่าเรื่อง : สันติ ภัยหลบลี้, กังวล คัชชิมา, สมบัติ มั่งมีสุขศิริ, อุเทน วงศ์สถิตย์ และ โอภาส จริยพฤติ ภาพปก : ภาพแกะสลักที่ปราสาทบายน กัมพูชา แสดงกรรมวิธีการผลิตและปรับปรุงคุณภาพของหิน ก่อนนำมาสร้างปราสาทหิน (ที่มา ...
สำรวจ

วัสดุแปลกปลอม กลางป่าพนมรุ้ง

ทีมสำรวจ : สันติ ภัยหลบลี้, นพมาศ ฤทธานนท์, กังวล คัชชิมา, สมบัติ มั่งมีสุขศิริ, อุเทน วงศ์สถิตย์, ปัญญา นากระโทก, จักรกริช อุดรพิมพ์, ตามศักดิ์ วงศ์มุนีวร, และ สิทธิโชค ...
สำรวจ

ภูมิสารสนเทศ (GIS) เส้นทางทัพสุดท้าย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตลอดระยะเวลา 14 ปี ในรัชสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2133 – พ.ศ. 2148) พระองค์ทรงประกอบพระราชกรณียกิจมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการรบ จากบันทึกพงศาวดารกล่าวว่า พระองค์ทรงทำศึกสงครามหลายต่อหลายครั้งภายในห้วงเวลาสั้นๆ 14 ปี ไม่ว่าจะเป็น 1) ศึกแรกกับพระมหาอุปราชา 2) ...
สำรวจ

ล่อง (รอยเลื่อน) แม่ปิง

ปัจจุบัน รอยเลื่อนแผ่นดินไหว ที่กรมทรัพยากรธรณีได้ประกาศเอาไว้ว่าเป็น รอยเลื่อนมีพลัง (active fault) ก็จะมีอยู่ประมาณ 14-15 รอยเลื่อน ครอบคลุมพื้นที่ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ของประเทศไทย เช่น รอยเลื่อนแม่ทา จังหวัดเชียงใหม่ รอยเลื่อนแม่จัน จังหวัดเชียงราย รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์และรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ในแถบภาคตะวันตก ตลอดจนรอยเลื่อนระนอง-คลองมะรุ่ย ...
สำรวจ

How to ดู : คลองคนขุดโบราณ

ในทางโบราณคดี นอกจากโบราณสถาณและโบราณวัตถุ ที่มีให้สำรวจ-ขุดค้นกันอย่างไม่หวาดไม่ไหว อีกหนึ่งตัวละครที่น่าสนใจไม่แพ้กันคือ ระบบชลประทาน (irrigation system) หรือ คลองขุดโบราณ ซึ่งมันก็ไม่ยากที่จะแยก หากสิ่งปลูกสร้างในอดีต เช่น ปราสาท สถูป เจดีย์ ฯลฯ ไม่ได้มีการใช้แล้วในปัจจุบัน สิ่งเหล่านั้นก็จะถูกนิยามเป็นโบราณสถาน เปิดทางให้นักโบราณคดีเข้าสำรวจในพื้นที่กันได้ง่ายๆ แต่ใครจะไปรู้ ...
สำรวจ

ปราสาทเขาปลายบัด บุรีรัมย์ : จากกำแพงหินเนื้อแปลก สู่เหมืองหินลึกลับที่น่าค้นหา

ปลายบัด เป็นเขาลูกโดด ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขาพนมรุ้ง อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. บุรีรัมย์ ซึ่งในทางธรณีวิทยา เขาปลายบัดเป็นภูเขาไฟเก่า แต่ปัจจุบันถือว่าดับสนิทแล้ว (ไม่มีแมกมาอยู่ใต้เขาแล้ว) ในทางโบราณคดี บนพื้นที่เขาปลายบัด มีโบราณสถาณสมัยอาณาจักรแขมร์สำคัญ 2 แห่ง ได้แก่ ปราสาทเขาปลายบัด ๑ และ ...
สำรวจ

4 รอยเลื่อน แห่งลุ่มน้ำโขง ที่ไทยควรเฝ้าระวัง

ภาพปก : https://pantip.com/topic/36696666 ปัจุบัน ผลจากการที่แผ่นเปลือกโลกอินโด-ออสเตรเลีย กำลังพุ่งชนและมุดเข้าไปใต้แผ่นยูเรเซีย นอกจากขอบการชนกันอย่าง เขตมุดตัวของเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman subduction zone) แรงส่งจากการบดขยี้กันของแผ่นทั้งสอง ยังทำให้ภายในแผ่นเปลือกโลกเกิดรอยแตกร้าวมากมาย อย่างที่เราเรียกกันติดปากว่า รอยเลื่อน (fault) ซึ่งทั้งเขตมุดตัวและรอยเลื่อน ถือเป็นแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญและเป็นพื้นที่ภัยพิบัติ และเนื่องจากการบดอัดกันของอินเดีย-ยูเรเซีย ส่วนใหญ่เน้นลงแรงกันทางตอนเหนือของทวีปเอเชีย ...
สำรวจ

เกาะบาเรน : ภูเขาไฟที่หลอนคนไทยให้ผวา สึนามิ

สึนามิเกิดได้จากหลายสาเหตุ นอกจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) ที่เป็นสาเหตุหลักของสึนามิ ดินถล่มหรือ ภูเขาไฟ ใต้ทะเลก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สร้างสึนามิได้ หลังปี พ.ศ. 2547 คนไทยรู้ดีว่า ห่างออกไปนอกชายฝั่งอันดามันของไทย มี เขตมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกสุมาตรา-อันดามัน (Sunatra-Andanan Subduction Zone) ทอดตัวอยู่ ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดสึนามิสำคัญของบ้านเรา ...
สำรวจ

แนวชายฝั่ง ทวารวดี : มองมุมธรณีวิทยา

ภาพจากปก : ตราประทับดินเผาลายนูนต่ำรูปเรือใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร อายุราวพุทธศตวรรษที่ 11-13 พบที่เมืองนครปฐมโบราณและพื้นที่ใกล้เคียง แสดงถึงความเจริญก้าวหน้าในการเดินเรือและการค้าขายของเมืองนครปฐมโบราณสมัย ทวารวดี [ที่มา : มิวเซียมสยาม – Museum Siam] ทวาราวดีเบื้องต้น ทวารวดี (Dvaravati) ...
สำรวจ

แผ่นดินไทยมาจากไหน ? : นิทาน . ธรณีแปรสัณฐาน . ประเทศไทย

เชื่อว่าผู้อ่านคงเคยได้รับชมสารคดีเกี่ยวกับการเดินทางของเผ่าพันธุ์มนุษย์ การอพยพของสัตว์เพื่อหนีหนาว หรือแม้แต่การเดินทางของเม็ดเลือดจากการ์ตูน “นิทานชีวิต” ที่เราคลั่งไคล้กันตอนเด็กๆ คราวนี้ผู้เขียนอยากให้ลองเปลี่ยนบรรยากาศ มาดูการเดินทางของผืนแผ่นดิน (ธรณีแปรสัณฐาน) กันบ้าง ผู้เขียนผู้เขียนตั้งชื่อนิทานเรื่องนี้ว่า “นิทานขวานทอง” ซึ่งอ้างอิงหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่เคยมีการศึกษาวิจัยเอาไว้ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น Bunopas (1985) Charusiri และคณะ (2002) และ Yan ...
สำรวจ

ตะพักทะเล : พยานปากเอก จับแผ่นดินไหวครั้งใหญ่

เกริ่นกันก่อน ตะพักแม่น้ำ เกริ่นก่อนจะเข้าเรื่อง แผ่นดินไหว สืบเนื่องจากบทความ : ชนิดและภูมิลักษณ์ของธารน้ำ ผลจากการกวัดแกว่งของ ธารน้ำโค้งตวัด (meandering stream) หินแข็งที่เคยอยู่ริมธารน้ำจะถูกกัดกร่อนและเกิดการทับถมตะกอนซ้ำแล้วซ้ำเล่าไปทั่วทุกพื้นที่ที่ธารน้ำเคยตวัดไปถึง ทำให้เกิดภูมิประเทศเป็นที่ราบครอบคลุมพื้นที่กว้างขนาบไปตามธารน้ำที่เรียกกันติดปากว่า ที่ราบน้ำท่วมถึง (flood plain) ซึ่งหากมองในภาพตัดขวางของร่องน้ำ จะพบว่าร่องน้ำโค้งตวัดนี้ จะมีความกว้างโดดเด่นกว่าความลึก หรือมีรูปร่างคล้ายกับตัว ...
สำรวจ

เกลือ 7 แบบ : หลากสี หลายรส

เกลือ – เรียบเรียง : ธัญพร จันทาดี และ สันติ ภัยหลบลี้ เกลือที่มีดีมากกว่าความเค็ม เชื่อว่าหลายคนคงจะรู้จักเกลือกันเป็นอย่างดี มีหลักฐานว่ามนุษย์ใช้เกลือและผลิตเกลือมาตั้งแต่ 6,000 ปี ก่อนคริสต์กาล ในอดีตกาลเกลือเป็นสิ่งมีค่ามากยิ่งกว่าทอง แต่นอกจากเกลือสีขาวในครัวที่เรารู้จักกันแล้ว ยังมีเกลือที่มีสีและรสชาติแตกต่างกันมากมายบนโลกนี้ โดยเกลือสามารถแบ่งออกเป็น 2 ...
สำรวจ

ควอตซ์ . หลาก . สี

ควอตซ์ (quartz) – เรียบเรียง : นารีรัตน์ อัมพวะศิริ และ สันติ ภัยหลบลี้ ควอตซ์ (quartz) เป็นแร่ชนิดหนึ่งที่มีองค์ประกอบเป็นซิลิกอนและออกซิเจน มีสูตรเคมีคือ SiO₂ เป็นแร่ที่พบมากที่สุดถึงร้อยละ 12 ของเปลือกโลก พบได้ทั้งในหินอัคนี หินตะกอน ...
สำรวจ

มีนิคมอุตสาหกรรมเหล็กร้าง แอบอยู่กลางป่าชายขอบบุรีรัมย์

โบราณคดี – วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย : สุทธิกานต์ คำศิริ, สุรพล เทวัญรัมย์ และ สันติ ภัยหลบลี้ แร่เหล็กถือ (iron) เป็นหนึ่งในวัสดุที่สำคัญในการผลิตเครื่องมือเครื่องไม้ข้างกายมนุษย์มาอย่างยาวนาน แน่นอนว่าปัจจุบันแหล่งผลิตแร่เหล็กที่สำคัญมีกระจายอยู่ทั่วทุกเห็นโลก ได้แก่ ประเทศจีน ออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย ...
สำรวจ

ราชมรรคา : อีกเหตุผล ทำไมเส้นทางโบราณนี้เป็นที่นิยม

ราชมรรคา : วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย : สุทธิกานต์ คำศิริ, สุรพล เทวัญรัมย์ และ สันติ ภัยหลบลี้ ด้วยสภาพภูมิประเทศหรือภูมิศาสตร์ในปัจจุบัน ภาคอีสานของไทยอยู่สูงกว่าที่ราบลุ่มต่ำของประเทศกัมพูชา ซึ่งนอกจากระดับความสูงโดยรวมที่แตกต่างกันแล้ว ชายแดนของทั้ง 2 พื้นที่ ยังถูกขวางกั้นตลอดแนวกว่า 300 กิโลเมตร ...
สำรวจ

คน . หยอก . คลื่น

คลื่น – ปัจจุบันรูปแบบการป้องกันภัยพิบัติการกัดเซาะชายฝั่งที่มนุษย์ได้คิดค้นขึ้นมีอยู่อย่างน้อยๆ 4 วิธี ซึ่งแต่ละวิธีก็มีลีลาในการปก ป้อง ปราม การสูญเสียหาดหรือฝั่งอย่างแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรูปแบบการรุกรานของน้ำทะเลหรือ คลื่น ที่ก็ว่ากันไปตามหน้างาน 1) กำแพงกันคลื่น (seawall) คือความพยายามปกป้องพื้นที่ที่น้ำรุกล้ำและประชิดเข้าติดตัวแล้ว ซึ่งแทนที่จะปล่อยให้น้ำทะเลกระซวกฝั่งเพิ่มหรือเลยเถิด ก็ใช้วิธีใส่เฝือกปูนให้น้ำกระแทกปูน พอบรรเทาฆ่าเวลาไปได้บ้าง 2) ...
สำรวจ

ความเฟี้ยวของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ณ เขื่อนลำตะคอง

เขื่อน – ในบรรดาเขื่อนต่างๆ กว่า 39 เขื่อน ที่มีอยู่ในประเทศไทย เขื่อนส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นในพื้นที่ที่เป็น หุบเขาร่องลึก (valley) ตามภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ของไทย ทั้งนี้ก็เพราะความเหมาะในการเก็บน้ำแบบลึกๆ แต่กินพื้นที่แคบๆ ซึ่งในทางธรณีวิทยาหุบเขาร่องลึกจะเกิดขึ้นได้ ส่วนใหญ่จะมี รอยเลื่อน (fault) เป็นตัวควบคุม ...