มีนิคมอุตสาหกรรมเหล็กร้าง แอบอยู่กลางป่าชายขอบบุรีรัมย์

โบราณคดี – วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย : สุทธิกานต์ คำศิริ, สุรพล เทวัญรัมย์ และ สันติ ภัยหลบลี้ แร่เหล็กถือ (iron) เป็นหนึ่งในวัสดุที่สำคัญในการผลิตเครื่องมือเครื่องไม้ข้างกายมนุษย์มาอย่างยาวนาน แน่นอนว่าปัจจุบันแหล่งผลิตแร่เหล็กที่สำคัญมีกระจายอยู่ทั่วทุกเห็นโลก ได้แก่ ประเทศจีน ออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย และประเทศรัสเซีย ฯลฯ แต่ใครจะรู้บ้างว่า ในอดีตโบราณนานพอสมควร ประเทศไทย (ปัจจุบัน) ของเรา เป็นหนึ่งในแหล่งถลุงเหล็กที่สำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเชียงใต้ ยุคเหล็ก (iron age) คือหนึ่งในยุคสมัยหลักๆ ทางโบราณคดี ที่มนุษย์ทั่วโลกใช้เหล็กเป็นวัสดุในการดำรงชีวิต หมายถึงอายุในช่วง 1,200–550 ก่อนคริสตกาล การถลุงเหล็กโบราณ ปัจจุบันการทำเหมืองเหล็กส่วนใหญ่มักจะใช้ความรู้ทางธรณีวิทยาเพื่อเสาะหา ชั้นแร่เหล็ก ที่กินภูเขาเป็นลูกๆ ดังนั้นการถลุงเหล็กส่วนใหญ่จึงได้แร่เหล็กกันเป็นล่ำเป็นสัน แต่ในอดีตพบว่ากว่าจะได้มาซึ่งเหล็กซักแท่ง คนโบราณจะต้องเสาะหาแหล่ง ศิลาแลง (latterite) แล้วนำศิลาแลงนั้นมาถลุงด้วยความร้อน สกัดเอาเหล็กออกมา ซึ่งด้วยกระบวนการดังกล่าว เหล็กก็ได้ แต่ที่ได้มากกว่าก็คือส่วนของข … อ่านเพิ่มเติม มีนิคมอุตสาหกรรมเหล็กร้าง แอบอยู่กลางป่าชายขอบบุรีรัมย์