Tag: น้ำผิวดิน

สำรวจ

“บาราย” ในประเทศไทย ทำไมแห้ง ?

ในวัฒนธรรมเขมรโบราณ เพื่อที่จะสำรองน้ำไว้ใช้ แต่ละชุมชนนิยมสร้างภาชนะกักเก็บน้ำ 2 รูปแบบ คือ 1) ตระพัง หมายถึง สระน้ำขนาดเล็กรูป 4 เหลี่ยมผืนผ้าเป๊ะๆ กว้างประมาณ 200-300 เมตร ยาวประมาณ 400-600 เมตร ...
สำรวจ

ธรณีวิทยาโบราณคดี เมืองโบราณอู่ทอง

วิเคราะห์-เรียบเรียง : สันติ ภัยหลบลี้ และ ชวลิต ขาวเขียว ที่มาข้อมูล : GISTDA – สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) เมืองโบราณอู่ทอง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำจระเข้สามพัน ในพื้นที่ อ. อู่ทอง ...
สำรวจ

ความเฟี้ยวของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ณ เขื่อนลำตะคอง

เขื่อน – ในบรรดาเขื่อนต่างๆ กว่า 39 เขื่อน ที่มีอยู่ในประเทศไทย เขื่อนส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นในพื้นที่ที่เป็น หุบเขาร่องลึก (valley) ตามภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ของไทย ทั้งนี้ก็เพราะความเหมาะในการเก็บน้ำแบบลึกๆ แต่กินพื้นที่แคบๆ ซึ่งในทางธรณีวิทยาหุบเขาร่องลึกจะเกิดขึ้นได้ ส่วนใหญ่จะมี รอยเลื่อน ...
เรียนรู้

วัฏจักรของน้ำ (Water Cycle)

วัฏจักรอุทกวิทยา (hydrological cycle) หมายถึง วัฏจักรการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำระหว่างของเหลว ของแข็งและก๊าซ ตามสภาพแวดล้อมที่น้ำอาศัยอยู่ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงจำแนกได้ 4 รูปแบบ คือ 1) การระเหย การระเหย (evaporation) คือ การเปลี่ยนสถานะของน้ำบนพื้นผิวโลกไปสู่บรรยากาศ ทั้งในรูปของไอน้ำที่ระเหยจากแหล่งน้ำโดยตรง ...
เรียนรู้

กำเนิดธารน้ำและปัจจัยการไหล

การเกิด ธารน้ำ (stream) เริ่มต้นจากเมื่อมีฝนตกลงมา ในช่วงแรกน้ำจะซึมผ่านลงไปในชั้นดินด้านล่าง ซึ่งต่อมาเมื่อดินอิ่มน้ำ น้ำจะเริ่มสะสมตัวบนผิวดินเป็น แผ่นน้ำบาง (sheetwash) ไหลลงที่ต่ำในลักษณะแผ่นน้ำแผ่ซ่าน และน้ำจะกัดเซาะพื้นดินอย่างช้าๆ เป็นร่องน้ำขนาดเล็กและใหญ่ขึ้นตามลำดับ ได้แก่ ธารน้ำสายเล็ก (rill) ลำห้วย (gulliy) แคว ...
สำรวจ

หินนาคา ภูลังกา กับธรณีวิทยาน่ารู้

ถ้ำนาคา ตั้งอยู่ในเขตอุทยานเเห่งชาติภูลังกา รอยต่อระหว่างจังหวัดบึงกาฬ-นครพนม (กรอบสีขาวในแผนที่) ซึ่งจุดเด่นที่น่าสนใจของถ้ำนาคาและพื้นที่โดยรอบนี้คือ การพบหินที่มีพื้นผิวคล้ายกับเกล็ดของสัตว์ขนาดยักษ์อยู่ทั่วไปในแถบนั้น ซึ่งตามคติชาวบ้านหรือความเชื่อในท้องถิ่นบางส่วนเชื่อว่านี่คือร่างของพญานาคที่ชาวบ้านเรียกว่า หลวงปู่อือลือ ถูกสาปให้ร่างกลายเป็นหินติดอยู่ในถ้ำแห่งนี้ อย่างไรก็ตาม ลักษณะพื้นผิวหินที่คล้ายกับเกล็ดปลาหรือเกล็ดพญานาคนี้ สามารถอธิบายได้ตามหลักวิชาการทางธรณีวิทยา บทความนี้จึงอยากจะเผยแพร่ความรู้ในมุมมองของวิทยาศาสตร์ โดยไม่ได้มีเจตนาที่จะลบหลู่ความเชื่อหรือคติชาวบ้านในพื้นที่แต่อย่างใด ในทางธรณีวิทยา เมื่อหินบนพื้นผิวโลกผ่านร้อนผ่านหนาวและผ่านกาลเวลามาซักระยะ หินก้อนใหญ่ๆ สามารถแตกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยได้ ...