ลาวา : รูปแบบและปัจจัยการประทุ

ภูเขาไฟ – แมกมา (magma) ประกอบด้วย 1) หินหนืด (molten rock) จากการหลอมละลายของหินใต้พื้นผิวโลก 2) ไอระเหย (volatile)ของน้ำและก๊าซ รวมทั้ง 3) หินแปลกปลอม (xenolith) ต่างๆ ที่อาจปะปนกันมาตลอดระยะทางระหว่างการแทรกดันของแมกมาขึ้นมาสู่พื้นผิวโลก ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์จำแนกแมกมาออกเป็น 3 ชนิด ตามองค์ประกอบทางเคมีและสัดส่วนความเข้มข้นของแร่ซิลิกา (SiO2) ซึ่งแมกมาแต่ละชนิดส่งผลให้เกิดคุณลักษณะเฉพาะต่างๆ ของกิจกรรมทางภูเขาไฟ ทั้งรูปร่างภูเขาไฟ สไตล์การปะทุ วัสดุที่เกิดจากภูเขาไฟ ตลอดจนรูปแบบของภัยพิบัติภูเขาไฟที่มีโอกาสเกิดขึ้น ซึ่งในเชิงองค์ประกอบ แมกมารายละเอียดและคุณสมบัติของแมกมาแต่ละชนิดแสดงในตารางด้านล่าง (Schmincke, 2005) และสรุปคุณสมบัติสำคัญของแมกมาที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของ ลาวา (lava) ออกเป็น 3 ปัจจัย คือ คุณสมบัติ แมกมาบะซอลต์ (basaltic) แมกมาแอนดิไซต์ (andesitic) แมกมาไรโอไรท์ (rhyoritic) 1. สี เข้ม ปานกลาง จาง 2. อุณหภูมิ (oC) 1,000-1,200 800-1,000 600-900 3. ความเข้มข้นของแร่ซิลิกา ต่ำ (45-55%) กลาง (55-56%) สูง (65-75%) 4. ความเข้มข้นน้ำ 0.1-1% ประมาณ 2-3% ประมาณ 4- … อ่านเพิ่มเติม ลาวา : รูปแบบและปัจจัยการประทุ