Tag: คลื่นและกระบวนการชายฝั่ง

เรียนรู้

แบบฝึกหัด 11 คลื่นและกระบวนการชายฝั่ง

วัตถุประสงค์ของแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้อ่านมีโอกาส 1) ทบทวนเนื้อหา และ 2) ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม โดยผ่านกระบวนการสื่อสารแบบถาม-ตอบ ระหว่างผู้เขียน-ผู้อ่าน เท่านั้น โดยไม่มีเจตนาวิเคราะห์ข้อสอบเก่าหรือแนวข้อสอบแต่อย่างใด 1) แบบฝึกหัดจับคู่ (1) คำอธิบาย : เลือก ...
สำรวจ

ปากแม่น้ำโบราณ ของไทย

ในบรรดา ภูมิลักษณ์ (landform) รูปแบบต่างๆ บนพื้นผิวโลก ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (delta) ถือเป็นภูมิลักษณ์อันดับหนึ่งที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดต่อการเกษตรกรรม อุดมยิ่งกว่า ที่ราบน้ำท่วมถึง (floodplain) อย่างที่เราเคยรู้กัน ทั้งนี้ก็เพราะดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเป็นพื้นที่สุดท้าย ที่คอยรวบรวมอินทรีย์วัตถุที่สะสมมาตลอดทาง จากต้นน้ำสู่ปลายน้ำให้ตกสะสมในบริเวณนี้ ตัวอย่างที่เห็นชัดในแถบบ้านเรา คือ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง ...
สำรวจ

ธรณีวิทยา สะพานพระราม

สะพานพระราม (Rama’s Bridge) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า สะพานอดัม (Adam’s Bridge) เป็น ภูมิลักษณ์ (landform) ทางทะเล ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีลักษณะเป็นเหมือนแนวสันทรายที่ทอดยาว เชื่อมระหว่าง 1) ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย แผ่นดินใหญ่ และเกาะยักษ์ที่ห่างออกไปอย่าง ...
สำรวจ

ขุนสมุทรจีน : ภาพจำทะเลกินบก

ภาพปก : กิติคุณ วิวัฒนธนกิจ วัดขุนสมุทรจีน หรือ วัดขุนสมุทราวาส ตั้งอยู่ที่ ต. แหลมฟ้าผ่า อ. พระสมุทรเจดีย์ จ. สมุทรปราการ ซึ่งตามประวัติ วัดสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2510 ...
สำรวจ

ไข่น้ำแข็ง x ธรณีวิทยา

ฟินแลนด์ (Finland) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป ที่อยู่ค่อนไปทางเหนือของทวีป แถบสแกนดิเนเวีย ภูมิอากาศของฟินแลนด์ส่วนใหญ่จึงเป็นแบบหนาวเจี๊ยกเกือบตลอดทั้งปี ซึ่งด้วยความหนาวบวกกับอัตลักษณ์เฉพาะตัวของประเทศ ทำให้ฟินแลนด์เป็นประเทศหนึ่งที่น่าเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นเที่ยวแบบชมบ้านชมเมือง หรือว่าชมปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เรียกว่า แสงเหนือ (aurora)
เรียนรู้

คลื่นพายุซัดฝั่ง (storm surge)

คลื่นพายุซัดฝั่ง – เรียบเรียง : สิริรักษณ์ บุญเย็น และ สันติ ภัยหลบลี้ คลื่นพายุซัดฝั่ง (storm surge) หรือที่เรียกกันว่า สตอร์ม เซิร์จ หลายคนเมื่อได้ยินคำนี้แล้วอาจจะไม่คุ้นหูมากนัก และอาจจะยังไม่รู้ถึงความเสียหายที่เกิดขึ้นจากพายุซัดฝั่งนี้ แต่ถ้าหากบอกว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นมีความรุนแรงไม่ต่างจากความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก ...
สำรวจ

คน . หยอก . คลื่น

คลื่น – ปัจจุบันรูปแบบการป้องกันภัยพิบัติการกัดเซาะชายฝั่งที่มนุษย์ได้คิดค้นขึ้นมีอยู่อย่างน้อยๆ 4 วิธี ซึ่งแต่ละวิธีก็มีลีลาในการปก ป้อง ปราม การสูญเสียหาดหรือฝั่งอย่างแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรูปแบบการรุกรานของน้ำทะเลหรือ คลื่น ที่ก็ว่ากันไปตามหน้างาน 1) กำแพงกันคลื่น (seawall) คือความพยายามปกป้องพื้นที่ที่น้ำรุกล้ำและประชิดเข้าติดตัวแล้ว ซึ่งแทนที่จะปล่อยให้น้ำทะเลกระซวกฝั่งเพิ่มหรือเลยเถิด ก็ใช้วิธีใส่เฝือกปูนให้น้ำกระแทกปูน ...
เรียนรู้

หินกัดกร่อนที่ฝั่ง ตะกอนสะสมตัวที่หาด

ด้วยกระแสคลื่นทะเลที่ซัดเข้า หาด (shore) และ ฝั่ง (coast) อย่างไม่มีทีท่าว่าจะหมดเรี่ยวแรง ทำให้ริมชายฝั่งทะเลมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในทุกๆ วัน แทบจะทุกด้าน โดยในทางธรณีวิทยา กระบวนการหลักๆ ที่เกิดขึ้นตามแนวชายฝั่งประกอบไปด้วย 2 กระบวนการ คือ 1) การกัดกร่อน ...
เรียนรู้

คลื่นกลางมหาสมุทร และกระแสน้ำริมฝั่ง

คลื่นน้ำ (water wave) ในมหาสมุทร คือ คลื่น ที่เกิดจากการกระเพื่อมขึ้น-ลงของผิวน้ำ เกิดจากการถ่ายทอดพลังงานจากลมเป็นหลัก โดยเริ่มต้นจากลมพัดอ่อนๆ ทำให้พื้นน้ำที่ราบเรียบกลายเป็น ระลอกคลื่น (ripple) ต่อมาผิวน้ำที่ขรุขระจากระรอกคลื่นทำให้ลมปะทะกับน้ำได้ง่ายขึ้น ทำให้คลื่นใหญ่ขึ้นตามลำดับ ขึ้นอยู่กับความเร็วและความยาวนานของลมที่เข้าปะทะ (รูปซ้าย) โดยเมื่อคลื่นเดินทางผ่านน้ำ มวลน้ำจะเคลื่อนที่แบบหมุนวนแต่จะไม่มีการเดินทางของมวลน้ำ ...
เรียนรู้

ฝั่ง . หาด . ชายฝั่ง . ชายหาด ต่างกันยังไง

ถ้าจะเรียกแบบเหมาๆ ริมทะเล ถือเป็นพื้นที่สำคัญพื้นที่หนึ่งของมนุษย์ ทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สันทนาการ พักผ่อนหย่อนใจ หรือแม้กระทั่งภัยพิบัติที่น้ำทะเลทำกับมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น สึนามิ คลื่นพายุซัดฝั่ง การกัดเซาะชาายฝั่ง ทั้งหมดทั้งมวลก็ล้วนแต่เกิดขึ้นบริเวณริมทะเลนี้ทั้งนั้น และในทางปฏิบัติเวลาเราจะนัดหรือชวนใครไปที่ริมทะเล เราก็จะเรียกริมทะเลนั้นแตกต่างกัน ตามความคุ้นชินของแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็น ฝั่ง ชายฝั่ง ...
เรียนรู้

การป้องกันชายฝั่ง

ไม่ว่าจะด้วยการเปลี่ยนแปลงของโลกตามธรรมชาติหรือวัฏจักร หรือว่าการรุกล้ำของมนุษย์ แต่สภาพบริเวณชายฝั่งปัจจุบันในหลายๆ พื้นที่ทั่วโลก พบว่าบางพื้นที่สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือพื้นที่ที่มนุษย์เคยจับจอง กำลังถูกทำลายหรือยึดคืนพื้นที่ด้วยกระแสน้ำริมฝั่งทะเล อย่างที่เราเรียกกันว่า ภัยพิบัติการกัดเซาะชายฝั่ง (coastal erosion) ซึ่งจากความหวงแหนของมนุษย์เอง ทำให้มีการคิดหาวิธีป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งเกิดขึ้นในหลากหลารูปแบบ ตามปัญหาหรือลีลาการกัดเซาะของโลกในแต่ละพื้นที่ 1) กำแพงกันคลื่น กำแพงกันคลื่น (seawall) ...
สำรวจ

การปรับระดับพื้นโลก-ภัยพิบัติระยะยาวจากแผ่นดินไหว

บทความนี้เริ่มต้นจากความสงสัยของผมเองเมื่อหลายปีก่อน ตอนที่ได้เห็นภาพถ่ายดาวเทียมของเมืองบันดาห์ อาเจะห์ (Banda Aceh) ตอนเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีการนำภาพมาเปรียบเทียบกันของสภาพก่อนและหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งในแวบแรกผมก็คิดแค่ว่าน้ำทะเลที่รุกล้ำเข้าไปในเกาะนั้นน่าจะเป็นผลพวงมาจากภัยพิบัติสึนามิ แต่เมื่อมีโอกาสได้นั่งคิดทบทวนอีกครั้งถึงภาพถ่ายดาวเทียมที่ได้เห็น หนึ่งคำถามที่เกิดขึ้นในหัวคือ ภาพขวาเป็นภาพถ่ายที่สึนามิซัดเข้าฝั่งไปแล้วกว่า ...