Tag: ภัยพิบัติแผ่นดินไหว

เรียนรู้

ขนาดแผ่นดินไหว : ความหลากหลาย และ การปรับเทียบ

ขนาดแผ่นดินไหว (earthquake magnitude) คือ ระดับพลังงานที่โลกปลดปล่อยออกมาจากจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหวในรูปของแรงสั่นสะเทือน ดังนั้นในแต่ละเหตุการณ์แผ่นดินไหวจะมีขนาดแผ่นดินไหว หรือระดับพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเพียงระดับเดียวเท่านั้น ซึ่งจะแตกต่างจากแรงสั่นสะเทือนที่มีอยู่หลายระดับ ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเหตุการณ์นั้นๆ ว่ากันว่า คนเริ่มระแคะระคายว่าแผ่นดินไหวนั้นมี “ขนาด” ก็ในปี พ.ศ. 2474 โดยจากการสังเกตของคุณคิโยโอะ วาดาติ (Wadati ...
เรียนรู้

ก่อนจะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ต้องเคลียร์ประเด็นอะไรเรื่องแผ่นดินไหวบ้าง

ในการที่จะมีการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่ทิ้งไว้บนโลก ไม่ว่าจะเป็นอาคารสูง เขื่อนขนาดใหญ่ รวมทั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ฯลฯ สิ่งปลูกสร้างเหล่านี้ใช่ว่าคิดอยากจะสร้าง มีเงินแล้วก็สร้างกันได้เลยตามอำเภอใจ เพราะด้วยความที่ตัวใหญ่ และมีโอกาสให้คุณให้โทษได้ตลอดเวลาในวงกว้าง ดังนั้นก่อนที่จะมีการก่อสร้างอะไรจำพวกนี้ เจ้าของงานหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ จะต้องมีการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอย่างละเอียด หากเกิดอะไรขึ้นในอนาคต ซึ่งในกรณีของการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดยทั่วไปก็จะครอบคลุมในหลายๆ มิติ ทั้งทางกายภาพ สังคมและวัฒนธรรม ...
วิจัย

รอยเลื่อนสะกาย กลางพม่า เสี่ยงเกิดแผ่นดินไหวใหญ่

ในบรรดารอยเลื่อนมีพลังที่พวกเรารู้จักกันในภูมิภาคอาเซียน ผมพยายามสื่อสารสู่สาธารณะหลายครั้งว่า รอยเลื่อนสกาย (Sagaing Fault) ที่ผ่าอกกลางประเทศพม่า เป็นรอยเลื่อนที่ไม่ธรรมดา เพราะจากสถิติการเกิดแผ่นดินไหวในอดีต รอยเลื่อนนี้เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ถึง 8.0 เมื่อ 100 กว่าปีที่แล้ว (วันที่ 23 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2455) ...
วิจัย

กว่า 4 ทศวรรษ พัฒนาการการประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทย

ประเทศไทยตั้งอยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญมากมาย ซึ่งจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหวที่ตรวจวัดได้จากเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว บันทึกประวัติศาสตร์ รวมทั้งข้อมูลธรณีวิทยาแผ่นดินไหว บ่งชี้ว่าเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หลายครั้ง ซึ่งจากการประมวลผล ความไหวสะเทือนเท่า (isoseismal map) ที่เคยมีการรายงานไว้ในอดีต Pailoplee (2012) สรุปว่าในช่วงปี ค.ศ. 1912-2012 ประเทศไทยเคยได้รับภัยพิบัติแผ่นดินไหวหลายครั้งในระดับความรุนแรงแผ่นดินไหว II-VII ตาม ...
เรียนรู้

การประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว (Seismic Hazard Analysis)

นิยาม โดยคำจำกัดความ คำว่า ภัยพิบัติแผ่นดินไหว (seismic hazard) หมายถึง ระดับแรงสั่นสะเทือนของพื้นดินในแต่ละพื้นที่ ในขณะที่คำว่า เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว (seismic risk) หมายถึง ระดับความเสี่ยงภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ ซึ่งประเมินจากมูลค่าหรือความสำคัญของชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ในแต่ละพื้นที่ซึ่งมีโอกาสได้รับภัยพิบัติแผ่นดินไหว ดังนั้นในทาง วิทยาคลื่นไหวสะเทือน หรือ ...
เรียนรู้

การลำดับญาติ คลื่นแผ่นดินไหว

ถ้าจะให้ถูกต้องตามที่คนวงการแผ่นดินไหวเขาเรียกกัน คลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหว เขาเรียกกันว่า คลื่นไหวสะเทือน (seismic wave) แต่พวกเราจะเรียกคลื่นแผ่นดินไหว โดยส่วนตัวก็ไม่คิดว่าจะผิดอะไร ซึ่งโดยความหมาย คลื่นไหวสะเทือนก็คือคลื่นที่วิ่งอยู่ในตัวหรือบนพื้นผิวของโลก อันเป็นผลพวงมาจากพลังงานที่แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวนั้นปลดปล่อยออกมา โดยหลังจากที่เครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวถูกพัฒนาขึ้นมาจนเริ่มเข้าที่เข้าทางแล้ว กราฟแผ่นดินไหวที่บันทึกได้ ทำให้เรารู้ว่าคลื่นไหวสะเทือนนั้น มีหน้าตาเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร เมื่อเกิดแผ่นดินไหวแต่ละครั้ง คลื่นจะไหลมาเทมาเป็นชุดๆ ชุดของคลื่นหลากสไตล์หลายลีลาปะปนกัน ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 7 การประเมินภัยพิบัติแผ่นดินไหว (Seismic Hazard Analysis)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีกำหนดค่า เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพิบัติภัยแผ่นดินไหวด้วยวิธีความน่าจะเป็น เพื่อทราบสถานการณ์พิบัติภัยแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา วิธีกำหนดค่า (Deterministic Method) วิธีความน่าจะเป็น (Probabilistic Method) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทย (Seismic Hazard in Thailand) ภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศลาว (Seismic ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 6 ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (Region–Time–Length Algorithm)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจนัยสำคัญของภาวะเงียบสงบและภาวะกระตุ้นแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในภูมิภาคอาเซียนจากการวิเคราะห์คะแนน RTL เนื้อหา ระเบียบวิธีพื้นที่-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน (RTL Algorithm) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวและนัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เพื่อทราบพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอนาคตในภูมิภาคอาเซียน จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิดแผ่นดินไหว (Seismicity Rate Change) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island Chain) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 4 ความเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic Stress)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติการเกิดแผ่นดินไหวในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจการประยุกต์ใช้ค่า b ในการศึกษาแรงเค้นทางธรณีแปรสัณฐาน เนื้อหา การเปลี่ยนแปลงค่า b (Variation of b Value) เกาะสุมาตรา-อันดามัน (Sumatra-Andaman Island) แนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย (Indonesian Island ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 3 พฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหว (Earthquake Activity)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวและขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจวิธีการประเมินพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวจากฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวสำคัญในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา ความถี่-ขนาดแผ่นดินไหว (Frequency-Magnitude) แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด (Maximum Magnitude) คาบอบุติซ้ำการเกิดแผ่นดินไหว (Return Period) โอกาสเกิดแผ่นดินไหว (Probability of Occurrence) ในแต่ละพื้นที่ย่อยของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวมีพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวเฉพาะตัว ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 2 ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและความสมบูรณ์ (Earthquake Catalogue and Completeness)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อรู้จักบันทึกแผ่นดินไหวรูปแบบต่างๆ ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวและแหล่งสืบค้นข้อมูลแผ่นดินไหว เพื่อเข้าใจข้อดี-ข้อจำกัดของฐานข้อมูลแผ่นดินไหว และตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุง เพื่อทราบกระบวนการปรับปรุงฐานข้อมูลแผ่นดินไหว เนื้อหา บันทึกแผ่นดินไหว (Earthquake Record) การปรับเทียบมาตราขนาดแผ่นดินไหว (Magnitude Conversion) การจัดกลุ่มแผ่นดินไหว (Earthquake Clustering) แผ่นดินไหวจากกิจกรรมมนุษย์ (Man-made ...
แผ่นดินไหว

บทที่ 1 แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในอาเซียน (Earthquake Source in ASEAN)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อเข้าใจสภาพแวดล้อมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางธรณีแปรสัณฐานในภูมิภาคอาเซียน เพื่อจำแนกแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เพื่อทราบพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคอาเซียน เนื้อหา เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction Zone) รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ภาคเหนือของประเทศไทย (Northern Thailand) ภาคตะวันตกของประเทศไทย (Western Thailand) ภาคใต้ของประเทศไทย ...