สำรวจ

หลุมยุบบรรพกาล เมืองไทยก็มี – ธรณีวิทยาพาเที่ยว EP. 10

หุบป่าตาด

หุบป่าตาด ต. ทุ่งนางาม อ. ลานสัก จ. อุทัยธานี
https://goo.gl/maps/bh8sPVrMT3SB5L2UA

ถ้ำน้ำบ่อผี

ถ้ำน้ำบ่อผี ต. สบป่อง อ. ปางมะผ้า จ. แม่ฮ่องสอน
https://goo.gl/maps/mDoa1QVD3CafsAB89

หนองหาน

หนองหาน สกลนคร อ. เมืองสกลนคร จ. สกลนคร
https://goo.gl/maps/MWDQpDips3jLZyko6

หนองหานกุมภวาปี ต. เชียงแหว อ. กุมภวาปี จ. อุดรธานี
https://goo.gl/maps/FDkJ9j9MTFnmLSi76

ภาพถ่ายดาวเทียม แสดงขอบเขตกำแพงเมืองโบราณหนองหาน จังหวัดสกลนคร ซึ่งในปัจจุบัน กำแพงเมืองด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน จมอยู่ในตัวหนองหาน คาดว่าสภาพการณ์อย่างนี้ น่าจะเกิดขึ้นหลังจากสร้างเมือง

เพิ่มเติม : ธรณีวิทยา ผาแดง – นางไอ่

คำชะโนด

คำชะโนด วังนาคินทร์ ต. บ้านม่วง อ. บ้านดุง จ. อุดรธานี
https://goo.gl/maps/39zf6JgPFqpRjVVBA

เกาะนาคี ต. ศรีสุทโธ อ. บ้านดุง จ. อุดรธานี
https://goo.gl/maps/VPXP93v26REtENBHA

ลักษณะของกอวัชพืช ที่พบเกือบทุกหนองน้ำในละแวกป่าคำชะโนด

เพิ่มเติม : “คำชะโนด” ในมุมวิทยาศาสตร์

ธรณีวิทยาน่าเล่า

หลุมยุบ (sink hole) เป็นการทรุดตัวเนื่องจากการถล่มของโพรงใต้ดินอย่างทันทีทันใด ซึ่งโพรงเกิดขึ้นได้ทั้งจากธรรมชาติ เช่น การกัดเซาะหินปูนของน้ำใต้ดินจนกลายเป็นโพรงหรือถ้ำใต้ดิน โพรงภายในท่อลาวา หรือเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การทำเหมืองใต้ดิน เหมืองเกลือ การสูบน้ำหรือน้ำมันจากใต้ดินขึ้นมา โดยปกติหลุมยุบที่เกิดจากน้ำใต้ดินกัดเซาะหินปูนจะไม่ยุบเมื่อมีระดับน้ำใต้ดินสูง แต่เมื่อน้ำใต้ดินลดต่ำลง ไม่มีน้ำพยุงโครงสร้างของโพรงใต้ดิน อาจเกิดการถล่มได้ หรือหากมีการกระตุ้น เช่นแผ่นดินไหวก็สามารถทำให้โพรงใต้ดินถล่มได้ง่ายขึ้น

ภาพมุมสูงแสดงหลักฐานการเกิดหลุมยุบในรัฐฟรอริดาร์ สหรัฐอเมริกา 

หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 9.2 ที่เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย พ.ศ. 2547 เกิดหลุมยุบมากกว่า 30 ครั้ง ในช่วง 4-5 เดือน บริเวณภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย

แหล่งกำเนิดของโพรงใต้ดินที่ทำให้เกิดหลุมยุบ

. . .
บทความล่าสุด : www.mitrearth.org
เยี่ยมชม facebook : มิตรเอิร์ธ – mitrearth

Share: